Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 กิจกรรมก่อสร้าง แผนงาน และวิธีวิถีวิกฤติ, 60365086 นายสิปปกร…
บทที่ 7 กิจกรรมก่อสร้าง แผนงาน และวิธีวิถีวิกฤติ
บททั่วไป
กล่าวถึงกิจกรรมในการก่อสร้าง
ลำดับขั้นตอนการทำงาน
การจำแนกประภทงาน หมวดงาน องคาพยพของ CPM
การวัดปริมาณงาน
ความคืบหน้าของงานก่อสร้าง
วิเคราะห์คำศัพท์ในบทนี้
แผนงาน
แผนงาน คือ วิธีหรือรายละเอียดในการทำงานเพื่อบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
ประกอบด้วย
กิจกรรมของงาน
ลำดับของกิจกรรม
เวลาของแต่ละกิจกรรม
เวลาเริ่มต้นงาน เวลาสิ้นสุดงานและเวลาในการทำงานทั้งหมด
ทรัพยกรที่ต้องใช้ในการดำเนินงานทั้งหมด
ทรัพยากร ค่าใช้จ่าย และเวลาทำงาน
ประกอบด้วย
ประกันภัย
สวัสดิการแรงงาน
การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยรอบบริเวณงานก่อสร้าง ( ป้องกัน บำบัด มลภาวะที่เกิดจากงานก่อสร้าง )
มาตรการความปลอดภัย
การควบคุม ตรวจสอบ และรายงานระหว่างก่อสร้าง
องคาพยพของแผน และการวางแผน
ประกอบด้วย
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
กรอบเวลา
เงื่อนไขในการทำงาน
ความสำเร็จของงาน
ทรัพยากร
วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องจักรกล
ทรัพยากรมนุษย์ กำลังคน แรงงาน
ทักษะและความเชี่ยวชาญ เทคนิควิธีทำงาน
ลำดับขั้นตอนการทำงาน
Pert คือโอกาสความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้น
Curve คือความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นแต่ละกิจกรรม
การตรวจสอบ
การตรวจสอบ หมายถึงการสอบทาน การทำงานใดๆ ซึ่งหมายถึงการตรวจสอบปัจจัย กระบวนการ ผลลัพท์
สิ่งที่ต้องตรวจสอบ
สถานภาพของงาน และ การทำงานปัจจุบันเทียบกับแผนงาน
คุณภาพงานการก่อสร้าง ปริมาณงาน ความคืบหน้าของงานก่อสร้าง
คุณภาพในการทำงานของคนงานและวิศวกรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
การตรวจสอบปัจจัยที่มีผลต่อการทำงาน
สาเหตุของปัญหาอุปสรรคความผิดพลาดคลาดเคลื่อน
การเพิ่มลดของปัจจัยต่างๆที่มีผลกระทบ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขของงานก่อสร้าง
การขาดแคลนทรัพยากร ในบางครั้งอาจทำให้เกิดการติดขัดในการก่อสร้าง
สภาพเศรษฐกิจ ความคล่องตัวของสภาพเศรษฐกิจ
พิบัติภัยทางธรรมชาติ
ปัจจัยที่เป็นนัยต่อความสำเร็จ หรือ ความล้มเหลวของโครงการ
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากงาน หรือโครงการ ที่จะสามารถปรับปรุงแก้ไข หรือนำไปปรับใช้กับงานหรือโครงการอื่นๆได้และสมมติฐานต่างๆ
การควบคุม
การควบคุมหมายถึง กลไกการกำกับดูแลเพื่อให้การทำงานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทุกด้านซึ่งต้องกำกับดูแลให้เป็นไปตามข้อตลง สัญญาและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
ผลลัพท์ของการควบคุมงานก่อสร้าง
โครงการส่งงานทันกำหนดเวลา
อาจสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายตลอดทั้งโครงการได้
งานออกมามีคุณภาพ เป็นที่พอใจกับลูกค้า
หลักการ และประโยชน์ของแผนงาน
ในการก่อสร้าง มีหลักว่า จะต้องกำหนด การทำงานให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอน จะต้องใช้ทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ ให้ทำงานได้ต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก
ก่อนเริ่มงานก่อสร้าง
ใช้แผนงานเพื่อประมาณระยะเวลาก่อสร้าง ความก้าวหน้าของงานก่อสร้าง ใช้เพื่อการประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะแผนการใช้กำลังคน วัสดุ เครื่องจักรกล
ขณะก่อสร้าง
ใช้แผนงานเพื่อตรวจสอบและปรเมินแต่ละกิจกรรม หรือขั้นตอนก่อสร้างหรือประเมินความก้าวหน้าและช่วยในการจัดสรรทรัพยากร
ความเป็นมาของการวางแผนโดยวิธีต่างๆ
Bar Graph หรือ Bar Chart หรือ Gantt Chart
ใช้แผนภูมิแท่ง วางแผน ควบคุมการก่อสร้างและกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม
Line of Balance(LOB) Linear Schedule Method(LSM)
ใช้พัฒนาในการวางแผน ควบคุมการทำงานที่ซ้ำๆกัน เป็นเส้นความสัมพันธ์เดี่ยว ซึ่งแสดงช่วงเวลาของแต่ละกิจกรรม โดยให้อัตราการทำงานแต่ละกิจกรรมสม่ำเสมอ
Critical Path Method CPM
ใช้ความสัมพันธ์เส้นตรงระหว่างเวลากับปริมาณงาน เหมาะใช้กับงานที่ทำซ้ำๆหรือ มีลักษณะต่อเนื่อง
Program Evaluation and Review Technique PERT
ใช้ในการวางแผนควบคุมการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ โดย PERT ใช้ Network Diagram แสดงกิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม
S-Curve
S-Curve
มีความลาดชันมากๆหรือเริ่มต้นใช้งานได้เร็วจะทำให้ผู้รับจ้างเบิกจ่ายเงินงวดส่วนใหญ่ได้รวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามผู้ว่าจ้างมักไม่ชอบกรณีที่เกิดขึ้นแบบนี้
เป็นความสัมพันธ์
ระหว่างเวลา กับงานที่แล้วเสร็จสะสมหรือเงินที่ได้จากงานที่แล้วเสร็จเบิกจ่ายสะสม โดยแสดงเป็นร้อยละเทียบกับมูลค่างานทั้งหมด
S-Curve
สัมพันธ์กับแผนงานเนื่องจากแผนงานสัมพันธ์กับกิจกรรมที่ต้องทำปริมาณงานมูลค่างานต่อเหนื่อยมูลค่างานทั้งหมด
เพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการทำงาน S-Curve
ทั้งผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้างจึงอยู่กันคนละด้านเสมอการปรับปรุง S-Curve ให้อยู่ในยุทธดุลยภาพที่เหมาะสมจึงขึ้นอยู่กับการเจรจา
PERT
ในบางโอกาสในการวางแผนงานก่อสร้าง มีความจำเป็นที่จะทราบความน่าจะเป็นหรือโอกาส ความเป็นไปได้ของโครงการ
เช่น จำนวนวันที่จะทำกิจกรรมใดๆ ของงานทั้งหมดที่จะแล้วเสร็จ
PERT ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ CPM โดยใช้หลักการทางสถิติหรือความน่าจะเป็น อธิบายแผนงานโครงการ
Sofware ที่ใช้ในงานก่อสร้าง ติดตาม ปรับปรุงแผนงาน
Building Information Modeling หรือ BIM
บทสรุปบทที่ 7
บทนี้กล่าวถึง กิจกรรมการก่อสร้าง ลำดับเวลา มูลค่าของงาน การแก้ไขปัญหา การใช้แผนงาน การตรวจสอบ การจำแนกชนิด งาน ความก้าวหน้าของงาน การติดตามปรับปรุงแผนงาน ควบคุม ประเมิน แก้ไข
60365086 นายสิปปกร พิริยะอนันตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา นิสิตชั้นปีที่ 4