Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่ และวัยทำงาน, นางสาวนูรไอณีย์ ทับโทน…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่
และวัยทำงาน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น(อายุ 20 ถึง 40 ปี)
ในวัยนี้พัฒนาการทางด้านร่างกายเริ่มสมบูรณ์เต็มที่ อวัยวะทุกอย่างทํางานสมบูรณ์และมีการเจริญเติบโตถึงขีดสุด
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
เป็นช่วงวัยที่ร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง หรือที่เรียกว่า วัยทอง การเข้าสู่ภาวะวัยทองของผู้หญิง มักจะอยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป สาเหตุของการที่ผู้หญิงเข้าสู่วัยทองช้าเร็วต่างกันนั้นอาจมีสาเหตุหลายประการ
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านชีววิทยา ได้แก่ เส้นผมจะเริ่มร่วง หยาบขึ้น และขาวแซมเห็นชัด
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและ อารมณ์ผู้ชายและผู้หญิง เมื่อเข้าสู่วัยทองจะแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือประสบความสำเร็จและไม่ประสบความสำเร็จ
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เช่น รายรับไม่พอกับรายจ่าย การมีหนี้สิน
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
การเจ็บปุวยด้วยโรคเรื้อรังในปัจจุบันมีอิทธิพลมาจากพฤติกรรมที่ไม่ได้คํานึงถึงภาวะสุขภาพปัจจุบันมีการนําแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพมาใช้เป็นแนวทางทําความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพการปรับและแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยง เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมหรือพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ แนวคิดและทฤษฎีที่นิยมนํามาประยุกต์ใช้ในการสร้างให้แก่บุคคลวัยผู้ใหญ่
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น กรรมพันธุ์ซึ่งพบว่าการเจ็บป่วยบางชนิดมีการถ่ายทอดทางยีนส์
พฤติกรรมสุขภาพจากการศึกษา พบว่า การที่มีพฤติกรรมการดําเนินชีวิตประจําวัน ที่ไม่เหมาะสม
วัฒนธรรม ความเชื่อและศาสนา ซึ่งสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งจะมีผลต่อความคิด
สิ่งแวดล้อม เช่น สิ่งแวดล้อมที่เป็นหมอกควัน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเศรษฐกิจ
ระบบช่วยเหลือสนับสนุน ปัจจัยนี้จะช่วยให้คนมีภาวะสุขภาพได้ทั้งดีและไม่ดี คนที่มี ระบบช่วยเหลือสนับสนุนหรือแหล่งประโยชน์ที่ดี
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ปัญหาพฤติกรรมการดำเนินชีวิต บุคคลในวัยผู้ใหญ่เป็นวัยที่คนส่วนใหญ่ มีร่างกายไม่ค่อยแข็งแรง
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
การเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในวัยทอง ซึ่งเกิดจากความเสื่อมของร่างกาย ตามวัยและการลดการผลิตฮอร์โมนเพศ
7.ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตสมรส
8.ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
9.ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูบุตร
10.ปัญหาการปรับตัวของคนโสด
กลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร บุคคลวัยผู้ใหญ่ควรได้รับ สารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนทั้ง 5 หมู่ และปลอดภัย ไม่มีสารพิษปนเปื้อน
พฤติกรรมการออกก าลังกาย การออกกําลังกายที่เหมาะสมจะช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การนอนหลับ การพักผ่อนและการมีกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม การพักผ่อนเป็นสิ่งที่จําเป็นต่อร่างกาย
การจัดการความเครียด เมื่อบุคคลมีความเครียดจะทําให้หัวใจเต้นแรง เร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้นกล้ามเนื้อเกร็งตัว
การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอ ในปัจจุบันพบว่าโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับพฤติกรรมมักสืบเนื่องมาตั้งแต่ช่วงวัยเด็กและวัยรุ่น การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสรีระ จะมีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
พฤติกรรมการรับประทานยาเพื่อควบคุมโรคเรื้อรัง
บทบาทของพยาบาลพยาบาล
1.ประเมินปัญหาสุขภาพ ความต้องการการสร้างเสริมสุขภาพและจัดลําดับความสําคัญของความต้องการ การประเมินปัญหาควรครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
2.1 การให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
2.2 การเข้าใจและช่วยเหลือแก้ไขปัญหาแบบปัจเจกบุคคล บุคคลแต่ละคน จะมีเอกลักษณ์ส่วนบุคคล ในอายุที่แตกต่างกัน
2.3 ส่งเสริมกิจกรรมหรือพัฒนาโครงการหรือโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทั้งโครงการที่มีเปูาหมายที่บุคคลหรือกลุ่ม
3.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การสนับสนุนให้เกิดนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพในระดับต่างๆ
นางสาวนูรไอณีย์ ทับโทน 634N46119