Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ 2564 - Coggle Diagram
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ประจำปีงบประมาณ 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การพัฒนาคนในภาพรวมให้เป็นคนที่สมบูรณ์ในทุกช่วงวัยที่สามารถบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงที่เป็นสภาพแวดล้อมการดำเนินชีวิตได้อย่างดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาทุนมนุษย์จากการยกระดับคุณภาพการศึกษา การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ
หลักการสำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ำและขับเคลื่อนการเจริญเติบโต จากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะยาว
เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมของการพัฒนา
ในด้านสังคม
การศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังมีปัญหาเชิงคุณภาพ เด็กปฐมวัยยังมีพัฒนาการที่ล่าช้ากว่าวัยเพราะครอบครัวไม่มีความรู้และขาดเวลาในการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม และเด็กวัยเรียนยังมีปัญหาด้านสติปัญญาเพราะคุณภาพ การศึกษาไทยอยู่ในระดับต่ำประกอบกับการขาดการฝึกทักษะที่แปลงความรู้สู่ทักษะที่เพียงพอ จึงส่งผลให้วัยแรงงานมีผลิตภาพการผลิตต่ำ
การมีการศึกษาและรายได้น้อยท าให้ขาดความรู้ความเข้าใจและทางเลือกในการดำเนินชีวิต อาทิ ความเสี่ยงในการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัย การผจญกับปัญหามลพิษในอากาศ และการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
การเตรียมความพร้อมของประเทศในด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การพัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (Technopreneur) รวมทั้งเชื่อมโยงระหว่างภาคการผลิตที่เป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศ
การสนับสนุนการดำเนินงานอย่างเป็นเครือข่ายระหว่างสถาบันวิจัย สถาบัน การศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ชุมชน
การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย
ผลลัพธ์ทางการศึกษาของเด็กวัยเรียนค่อนข้างต่ำ
การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับและยกระดับการเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปรับระบบการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาคุณภาพครูทั้งระบบ
การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ
ในช่วง 5 ปีต่อจากนี้ไปยังต้องมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข
การกระจายการจัดบริการภาครัฐให้มีความครอบคลุมและทั่วถึงทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านการศึกษา
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) มีระยะเวลา 5 ปี นำหลัก“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางการพัฒนา
แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุขอย่างจริงจัง
พัฒนาหลักสูตรการสอนที่อิงผลงานวิจัยทางวิชาการและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มีคุณภาพตา มาตรฐานที่เน้นการพัฒนาทักษะส าคัญด้านต่างๆ
ผลักดันให้มีกฎหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา
สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนา ทักษะชีวิตและทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
พัฒนาศูนย์ฝึกอบรมสมรรถนะแรงงานที่ได้มาตรฐานตามระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานฝีมือแรงงาน จัดท ามาตรฐานอาชีพในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีศักยภาพ และให้มีการประเมินระดับทักษะของแรงงานบนฐานสมรรถนะ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
พัฒนาระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษา
ปรับหลักสูตรการผลิตครูที่เน้นสมรรถนะ มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ
ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลาง
จัดท าสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์ สื่อสารเคลื่อนที่ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต
เพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่้าสุดให้สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ
กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและทั่วถึง
พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
เป้าหมายและตัวชี้วัด
คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และภาคเอกชน
ตัวชี้วัด
การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการอ่านหาความรู้เพิ่มขึ้น
การอ่านของคนไทยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 85
ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไม่ต่ ากว่า 500
แรงงานที่ขอเทียบโอนประสบการณ์และความรู้เพื่อขอรับวุฒิ ปวช. และ ปวส. เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 20 ต่อปี
ผู้เรียนในระบบทวิภาคีเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อปี
สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และภาคเอกชน
เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ
แผนงานโครงการสำคัญ
แผนงานการลงทุนพัฒนาเพิ่มศักยภาพเด็กปฐมวัย
แผนงานการสร้างความอยู่ดีมีสุขและความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
แผนงานการยกระดับศูนย์ฝึกอบรมแรงงานเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
แผนงานการสร้างสภาพแวดล้อมให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โครงการ Free Wifi เพื่อการศึกษาทั่วประเทศ
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อติดตามเด็ก
โครงการบริหารจัดการงบประมาณด้านการศึกษาแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
ระยะเวลา 3 ปี พ.ศ.2562-2565
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
กรอบแนวคิดชุดที่ 5 ประชารัฐ
การส่งเสริมประชารัฐ (หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมชุมชนท้องถิ่น และภาควิชาการ) เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทส่งเสริม/รักษาและเสริมสร้างความมั่นคง ตั้งแต่ระดับแผนชุมชน แผนตำบล แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ภาค แผนกระทรวง/กรม และแผนบริหารราชการแผ่นดินและ การนำแนวคิด Whole – of – Nation – Approach ที่ทุกภาคส่วนได้ร่วมดำเนินงานด้านความมั่นคง โดยประสานและผนึกกำลังของทุกฝ่ายในชาติ
กลยุทธ์
แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
-ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ปลูกฝังวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ค่านิยมที่ดีงาม ความภูมิใจในชาติ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยการเรียนการสอน ทั้งในระบบและนอกระบบสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนกิจกรรมในด้านความมั่นคง
การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข -นำศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน รวมถึงขยายผลตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริและแบบอย่างที่ทรงวางรากฐานไว้พร้อมทั้งเผยแพร่ผลการดำเนินงานให้แพร่หลายเป็นที่ประจักษ์ทั้งในและต่างประเทศ
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
เรื่องที่ 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์
การพัฒนาวิชาชีพครู
เรื่องที่ 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
การปรับหลักสูตร พร้อมกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ
เรื่องที่ 3 การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
การยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในพื้นที่ห่างไกล หรือในสถานศึกษาที่ต้องมีการยกระดับคุณภาพอย่างเร่งด่วน
เรื่องที่ 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
เรื่องที่ 2 การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย
เรื่องที่ 7 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล
การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล (digital literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (information literacy) ความฉลาดรู้สื่อ (media literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้(learning how to learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนการมีพฤติกรรมที่สะท้อนการรู้กติกา มารยาท จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้สื่อและการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต
เรื่องที่ 1 การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ และกฎหมายลำดับรอง
การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพื่อจัดการศึกษา
แผนการปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน สู่การพัฒนาการศึกษา
ด้านการเมือง
สร้างจิตสำนึกในการเรียนรู้ความเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลกที่ดี
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
การสร้างและพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ (Public School)
ด้านกฎหมาย
การส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็น start up รุ่นเยาว์และการจัดตั้งสถาบันการศึกษาเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมขนาดกลาง
ด้านเศรษฐกิจ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพหลักสูตร การพัฒนาผู้เรียน เน้นการสร้างนวัตกรรม และการทำวิจัย
การส่งเสริมโรงเรียนอาชีวะต้นแบบ โครงการทวิภาคี
การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ผู้เรียน โดยร่วมกับกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เน้นการส่งเสริมโครงการ Zero waste
การสอดแทรกเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร การทำการวิจัยที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านสาธารณสุข
การเข้าถึงเทคโนโลยีทางการศึกษาทางสาธารณสุข
การเพิ่มสมรรถนะผู้เรียนระดับอุดมศึกษาสำหรับสายการแพทย์ การมีแหล่งฝึกทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานและปลอดภัย
ส่งเสริมระบบการพัฒนาหลักสูตรเด็กก่อนปฐมวัยและเด็กปฐมวัย
ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ
ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีทางการศึกษาของผู้เรียนในทุกระดับ และทุกภาคส่วน โดยเน้นถึงความปลอดภัย รู้เท่าทันสื่อ และลดการละเมิดสิทธิทางสื่อสังคม ในผู้เรียนทุกระดับชั้น
ด้านสังคม
เน้นผู้เรียนให้เป็นผู้มีทักษะชีวิต
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระหายต้องการที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต
การสร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิด
ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ด้ํานกระบวนการยุติธรรม
ส่งเสริมการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชาไปใช้ในกํารดำเนินชีวิต
การสร้างทัศนคติ ความรู้และปลูกฝังเยาวชนในสถํานศึกษําทุกระดับให้รังเกียจการทุจริตและตระหนักถึงโทษภัยของการทุจริตคอร์รัปชัน
ด้ํานพลังงาน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
มีระยะเวลา 2 ปี พ.ศ.2563-2565
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
ยุทธศาสตร์ที่ 4 เพิ่มโอกาสให้คนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ผลิตและพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ยุทธศาสตร์ชาติ
วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
มี 6 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขัน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 โดยกำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำหนดให้รัฐ พึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาล
มีระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2560-2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย