Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช, Untitled1 - Coggle Diagram
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
1.1 อัตตา หรือความเป็นตัวตนของตนเอง(self)
ลักษณะประจำตัว ทัศนคติ ความต้องการ แรงกระตุ้น พฤติกรม ความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม
1.2 อัตมโนทัศน์ (Self Concept)
การมองเห็นตนเองว่าเป็นอย่างไร
1.3 การรู้จักตนเอง หรือการตระหนักในตนเอง(Self-awareness)
การรับรู้รูปแบบของตน
1.1 แนวคิดของโรเจอร์ส
ตัวตนของบุคคล ( Self )
ตนตามที่รับรู้ (Perceived Self)
ตนตามความเป็นจริง (Real Self)
ตนตามอุดมคติ (Ideal Self)
1.2 แนวคิดของโบลส์ และดาเวนพอร์ท
ตนตามที่คาดหวัง
ตนตามการรับรู ้
ตนตามความเป็นจริง
ตนตามที่ผู้อื่นคาดหวัง
ตนตามที่ผู้อื่นรับรู้
การรู้จักตนในบริบทของสิ่งแวดล้อม
แนวคิดของโจเซฟ ลุฟท์ และ แฮรี่ อิงแฮม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปิดเผยตนเอง ได้แก่ ขนาดของกลุ่ม คนที่เราชอบและไว้ใจ คนที่มีศักยภาพสูงเปิดเผยตนเองมากกว่าคนที่มี
ศักยภาพต่ำ คนที่เข้า สังคมเก่งมักเปิดเผยตนเองมากกว่าคนที่
ชอบเก็บตัว เพศหญิงเปิดเผยตนเองมากกว่าเพศชาย ลักษณะคนในแต่ละวัฒนธรรม เปิดเผยตนเองต่างกัน
ข้อดีของการเปิดเผยตนเอง
เข้าใจพฤติกรรมตนเองมากขึ้น
เข้าใจตัวตนของผู้ส่งสาร
การเปิดเผยตนเองของคู่สื่อสาร
อันตรายจากการเปิดเผยตนเอง
อาจได้รับการปฏิเสธจากสังคม
การเปิดเผยตนเองมากเกินไป
ขั้นตอนการพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง (Self-awareness)
ขั้นตอนที่ 1 โดยการประเมินโดยตนเอง
ขั้นตอนที่ 2 โดยการประเมินจากผู้อื่น Feedback
ขั้นตอนที่ 3 คือ การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้รับจากทั้งการประเมินโดยตนเองและการประเมินจากผู้อื่น
เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด
สัมพันธภาพ(relationship) หมายความถึง กระบวนการนำสัมพันธภาพที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปทำความรู้จักกันติดต่อสัมพันธ์
แนวคิดการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบาบัด
Sullivan เชื่อว่าปัญหาทางด้านจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยจิตเวชที่แสดงออกมาเนื่องมาจากปัญหาของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
Peplau และ Sullivan ให้ความสำคัญของการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อแก้ไขปัญหา
ให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีทีjจะสร้างสัมพันธภาพได้อย่างเหมาะสมจากการสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชจึงเน้นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเป็นกระบวนการแรกที่พยาบาลจะสร้างความเข้าใจในตัวผู้ป่วย
พยาบาลจะต้องรักษาความลับของผู้ป่วย เพื่อที่ผู้ป่วยจะเกิดความไว้วางใจในตัวพยาบาล
การที่ผู้ป่วยจะเห็นว่าพยาบาลมีความน่าเชื่อถือนั้นพยาบาล
ควรมีความมั่นคงมีขอบเขตที่ชัดเจนเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
N.สำรวจ+ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก พฤติกรรมและปัญหาของPt.
N.ให้ข้อมูล(imformation) ข้อเท็จจริง(Fact) แก่ผู้ป่วย
Pt.ตระหนักในความคิด ความรู้สึก พฤติกรรม และปัญหาของตัวเอง
Pt.ได้ใช้ศักยภาพของตน แก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่กาลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน
Pt.พัฒนาทักษะในการสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
องค์ประกอบของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สร้างความไว้ใจ ความจริงใจ การเข้าใจความรู้สึกผู้ป่วย การยอมรับ มีความรู้สึกในแง่ดี ตระหนักรู้ในตนเอง ใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การสร้างสัมพันธภาพต้องกำหนดขอบเขตของการสร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ
ระบุขอบเขตของสัมพันธภาพให้ชัดเจน กระตุ้นให้ผู้ป่วยประเมินเป้าหมาย อธิบายความคาดหวังให้ผู้ป่วยทราบ ดำรงรักษาให้เป็นสัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือ จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อผู้ป่วยเพื่อการสืบค้นปัญหาของตน พยาบาลจะต้องทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าเป็นผู้สนับสนุนเท่านั้น
การสร้างสัมพันธภาพจะต้องอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับในศักดิ์ศรี และความมีคุณค่าของความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย
การมีปฏิสัมพันธ์ของระดับพัฒนาการ การสื่อสารต้องเหมาะสม ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมอย่างพอใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างเหมาะสม มีการยอมรับในพฤติกรรมต่างๆของผู้ป่วยหลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อ
หัวใจของการสร้างสัมพันธภาพจะต้องอยู่ที่การสร้างความไว้วางใจ
พูดจริงทำจริงพูดในสิ่งที่ทำได้ คำพูดต้องสอดคล้องกับการกระทำ ช่วยในการปรับแบบแนวการติดต่อกับผู้อื่น ให้ข้อมูลย้อนกลับที่เป็นจริง
4.การสร้างสัมพันธภาพในผู้ป่วยที่มีปัญหาจิตสังคม
ให้ผู้ป่วยสนทนาในเรื่องที่สนใจ ให้ความสนใจในเนื้อหาและกระบวนการสื่อสาร ใช้เทคนิคการสนทนาให้เหมาะสม กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้พูดและระบายความรู้สึก
5.ใช้เทคนิคการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพเน้นการเป็นผู้ฟังที่ดีและ กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
ใช้คำถามปลายเปิด ช่วยให้กล่าวถึงความคิดและความรู้สึกอย่างชัดเจน ใช้ความเงียบที่เหมาะสม ไวต่อความรู้สึก ชี้แนะเพื่อกระตุ้นการแสดงออก
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดในระยะแรก เน้นการกระตุ้นให้ ผู้ป่วยได้ระบายอารมณ์และนำสู่การเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
กระตุ้นให้ใช้คำพูดเกี่ยวกับอารมณ์ได้ชัดเจน ใช้คำถามสืบค้นความรู้สึก ใช้เทคนิคในการกระตุ้นความรู้สึกและเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดด้วยการเสริมสร้างพฤติกรรมที่
เหมาะสมในผู้รับบริการ เน้นที่การกระตุ้นด้วยการเรียนรู้ใหม่
อธิบายเหตุการณ์ หาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์กับสถานการณ์จริง เลือกวิธีการปรับตัวที่เหมาะสม ส่งเสริมวิธีการผสมผสานวิธีการปรับตัวใหม่กับการดำรงชีวิตประจำวัน รับรู้แบบแผนการปรับตัว
ขั้นตอนในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ
ขั้นตอนที่ 1 การเริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพ
(Introduction/Orientation Phase)
เพื่อสร้างความไว้วางใจในตัวพยาบาล
เพื่อกำหนดข้อตกลงในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
เพื่อประเมินความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของผู้ป่วย
เพื่อลดปัญหาในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ขั้นตอนที่ 2 การแก้ไขปัญหา(Working Phase)
พยายามค้นหาปัญหา สาเหตุของปัญหา โดยใช้เทคนิค ต่างๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้เข้าใจและตระหนักถึงความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของตนเอง
ช่วยให้ผู้ป่วยได้เข้าใจและยอมรับโดยพยาบาลสรุปให้
ผู้ป่วยได้เห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
ช่วยพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ป่วยให้
สามารถเลือกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
ขั้นตอนที่ 3 การยุติการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด(Terminating Phase)
เพื่อการประเมินผลความสาเร็จของเป้าหมาย
เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจถึงการยุติการบำบัด
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
การฟัง
การฟังอย่างตั้งใจ
ฟังทุกถ้อยคำที่ผู้ป่วยพูดออกมา
ทำให้เข้าใจในสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
ทำความเข้าใจในความคิดความรู้สึกที่ผู้ป่วยพูด
เป็นการแสดงออกถึงการยอมรับมองเห็นคุณค่าของผู้ป่วย
4.1 เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมความมีคุณค่า
การแสดงการระลึกได้จำได้
(giving recognition)
การแสดงความรู้จักความสนใจและยอมรับความเป็นบุคคลของผู้ป่วย เน้นความมีคุณค่าและการให้เกียรติ
ตัวอย่าง
“สวัสดีค่ะคุณ ก.” “สวัสดีค่ะคุณ ก. วันนี้คุณตัดผมใหม่” “สวัสดีค่ะคุณ ก.วันนี้คุณเดินคนเดียว คุณ ข.ไม่ได้มาด้วย”
การยอมรับ(accepting or showing acceptance)
การแสดงการยอมรับและเข้าใจความรู้สึก ความคิด พฤติกรรมของผู้ป่วย ซึ่งการยอมรับนี้ ไม่ได้หมายถึงการเห็นด้วยกับผู้ป่วย แต่เป็น การยอมรับผู้ป่วยในขณะที่ติดต่อสื่อสารกัน
"ค่ะ" "ฉันกำลังฟังอยู่ค่ะ" การพยักหน้า ประสานตา
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย (offering self)
การที่พยาบาลเสนอความตัวเพื่อ ช่วยเหลือผู้ป่วยด้วยความจริงใจและ สม่ำเสมอ ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะไม่ขอความ ช่วยเหลือหรือยังไม่พร้อมจะสื่อสารกับพยาบาล ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นและมีค่า ไม่ถูก ทอดทิ้ง
"ดิฉันจะนั่งเป็นเพื่อนคุณสักครู" "ฉันจะนั่งคุยเป็นเพื่อนคุณนะคะ" "ถ้าคุณมีอะไรอยากบอกฉันยินดีรับฟังนะคะ"
4.2 เทคนิคที่กระตุ้นการเปิดเผยตนเอง
การใช้คำถามกว้างๆ (giving broad opening state)
เป็นคำถามปลายเปิด ไม่ได้มีการระบุไปยังเรื่องใดเรื่องหนึ่งส่วนใหญ่นามาใช้ในการเริ่มต้นการสนทนา
"วันนี้เราจะคุยกันเรื่องอะไรดี" ""มีอะไรที่ทำให้คุณกังวลใจ บอกได้นะคะ""
การใช้คำถาม (Questioning)1. การใช้คำถามปลายเปิด (Open-ended question) ลักษณะคำถามจะเปิดโอกาสให้ ผู้ป่วยแสดงความคิดเห็น และความรู้สึกในเรื่อง ที่พยาบาลถาม ในคำถามมักจะมีคำว่า “อะไร (What)” “อย่างไร (How)” ควรหลีกเลี่ยงคาว่า “ทำไม (Why)”
"วันนี้มีอะไรทำให้คุณรู้สึกไม่สบายใจบ้าง"
การใช้คำถามปลายปิด (Closed-ended question) ลักษณะคาถามจะสั้น ๆ และต้องการคาตอบที่เฉพาะเจาะจงไม่ให้โอกาส ผู้ป่วยแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก คาตอบที่ได้คือ “ใช่/ไม่ใช่” “ได้/ไม่ได้ ”“ถูก/ ผิด” ควรใช้ในผู้ป่วยที่ไม่ค่อยพูดหรือแยกตัวเท่านั้น
“คุณอยากจะไปเข้ากลุ่มกับเพื่อนหรือไม่” “อยู่บ้านคุณจดั ยากินเองได้
ไหม”
การกระตุ้นให้พูดต่อ (giving general lead)
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดต่อขณะที่สนทนา
"แล้วยังไงต่อไปคะ" "เล่าต่อซิคะ"
ใช้ในกรณีที่เกิดการหยุดชะงักความคิด (Blocking) คิดไม่ออกว่ากาลังพูดเรื่องอะไร
“คุณไม่ชอบที่พี่ชายไปบอกแม่ แล้วอย่างไรต่อคะ”
มีเหตุการณ์ที่ขัดจังหวะการสนทนา พยาบาลจึงทบทวนเรื่องเดิมแล้วใช้ เทคนิคการ กระตุ้นให้พูดต่อ
“เมื่อสักครู่คุณพูดว่าคุณ อยากกลับบ้านไปเรียนหนังสือต่อ แล้วอย่างไรต่อไปคะ”
การค้นหาข้อมูลให้มากขึ้น (exploring)
การเจาะลึกเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผู้ป่วยกล่าวถึง อย่างผิวเผินไม่ชัดเจน
"คุณช่วยเล่าเหตุการณ์ตอนที่ ...หน่อยซิคะ" "คุณช่วยอธิบายเรื่อง ...เพิ่มเติมหน่อยค่ะ"
การใช้ความเงียบ
(using silence)
การใช้ความเงียบขณะสนทนาเพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ป่วยได้รวบรวมความคิด ทบทวนสิ่งที่พูดไปแล้วและสิ่งที่จะพูดต่อไปนอกจากนี้ยังได้ตระหนักถึงอารมณ์ของตนขณะสนทนา
"ฉันอยากกลับบ้าน แต่แม่ไม่
อยากให้กลับ แม่ไม่รักฉัน"
การบอกกล่าวสิ่งที่สังเกตเห็นในตัวผู้ป่วย (making observation or sharing observation)
"เสียงคุณสั่นตอนเล่าเรื่องลูกที่แท้งไป" "คุณกัดริมฝีปากเมื่อพูดถึงสามีคุณ"
4.3 เทคนิคที่ช่วยทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน
การทวนซ้ำ (restating)
“อยู่โรงพยาบาลไม่เห็นดีเลย อยากกลับบ้าน”
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting)
"วัน ๆ พยาบาลถามผมซ้ำ ๆ แต่เรื่องการกินยา"
การขอความกระจ่าง (seeking clarification or clarifying)
"ฉันไม่อยากพูดถึงเขา" "ที่คุณบอกว่าเขาหมายถึงใคร คะ" / "เขาคือใคร"
การตรวจสอบความเข้าใจตรงกัน(validating or seeking consensual validation)
"คุณพูดเช่นนี้ คุณ หมายความว่า …” "คุณพูดเช่นนี้เพื่อหมายถึง... ใช่ไหมคะ "
4.4 เทคนิคที่เอื้อประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
การให้ข้อมูล (giving information)
“การเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบำบัดจะทำ ให้คุณมีสัมพันธภาพที่ดีและปรับตัวให้ดีขึ้น ”
4.5 เทคนิคที่ช่วยพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง
การมุ่งความสนใจไปจุดใดจุดหนึ่ง
(focusing)
"คุณรู้สึกไม่สบายใจหลายเรื่อง คุณอยากพูดเรื่องไหนก่อนคะ"
การให้ความจริง
(presenting reality)
"ฉันไม่เห็นมีใครในห้องนี้ นอกจากคุณ ก. กับดิฉัน"
การสรุป
(summarizing)
"คุณ ก. ช่วยสรุปเรื่องที่เราพูดคุยกันไปในวันนี้หน่อยค่ะ" "ช่วงเวลาที่คุยกันมา 30 นาที นี้คุณ ก. ได้เล่าให้ ดิฉันฟั ง ว่า…”
4.6 เทคนิคอื่น
การลำดับเหตุการณ์ (placing the events in time or in sequence)
"คุณเริ่มปวดศีรษะบ่อยๆ ตั้งแต่อยู่ที่โรงเรียนหรือไป ทางานแล้วคะ" "มีอะไรเกิดขึ้นก่อนที่เหตุการณ์...จะเกิดขึ้น "
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ประเมินตนเอง (encouraging evaluation)
"จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคุณรู้สึกอย่างไรคะ”
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้เปรียบเทียบ
(encouraging comparison)
"คุณคิดว่าการมาอยู่โรงพยาบาลครั้งนี้ต่างจากครั้งก่อนอย่างไร"
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยวางแผน (encouraging formulation of a plan of action)
"หากคุณกลับไปอยู่บ้านแล้วมีคนทำให้คุณโกรธอีกคุณจะทำอย่างไรคะ"
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยอธิบายสิ่งที่ได้รับรู้มา (encouraging description of perception)
"เสียงที่คุณได้ยินตอนนั้นเป็นอย่างไรคะ"
การตั้งข้อสงสัย(voicing doubt)
"เป็นไปได้หรือคะที่…”
เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบาบัด
ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารเพื่อการบำบด
ความล้มเหลวจากการไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่อการบาบัด
ความล้มเหลวในการวิเคราะห์หรือแปลความข้อมูลจากการสื่อสารเพื่อการบำบัด
ความล้มเหลวในการฟัง
การสื่อสารที่ขาดประสิทธิภาพ
การให้กำลังใจโดยใช้คาพูดทั่วไปที่เป็นความเคยชิน
"คุณอย่ากังวลใจไปเลย"
การให้ความเห็นดีด้วยหรือการเห็นพร้องกับผู้ป่วย (giving approval)
"เป็นความคิดที่ดีมาก ดิฉันเห็นด้วยกับคุณค่ะ"
การแสดงความไม่เห็นด้วยกับความคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย (disapproving)
"คุณกังวลมากไป ควรจะเลิกคิดเรื่อง...ได้แล้ว"
การร่วมเห็นด้วยกับผู้ป่วย (agreeing)
"ฉันเห็นด้วยกับคุณที่คุณ จะ…”
การคัดค้านความคิดเห็นของผู้ป่วย (disagreeing)
"ไม่ใช่อย่างที่คุณคิดนะคะ"
การให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยด้วยความคิด และวิธีการของพยาบาลเอง (giving advice)
“ดิฉันคิดว่าคุณควรจะบอก
สามีว่า..."
การเรียกร้องการพิสูจน์จากผู้ป่วยหรือการท้าทาย (challenging)
"คุณบอกว่าคุณระลึกชาติได้ คุณช่วยเล่าเรื่องชาติก่อนให้ฟังหน่อยซิ"
การพูดซ้าๆ ที่เป็นแบบเดียวกัน(making stereotyped comments)
การใช้เทคนิการทวนซ้ำ บ่อยๆ เพราะไม่รู้ว่าจะพูดอะไร
การแก้ตัว (Defending)
"โรงพยาบาลนี้เป็น โรงพยาบาลที่ดีมากแล้วนะคะ"
การเปลี่ยนหัวข้อการสนทนา (Introducing an unrelated topic)
"ได้เวลาอาหารพอดี คุณไปรับประทานอาหารก่อนแล้ว ค่อยคุยกันนะคะ"