Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้สูงอายุ, B1C3C04E-4EA8-47B9-A33E-1AE1D180A196 -…
การสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้สูงอายุ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของผู้สูงอาย
การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความชราที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
1.1 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของผู้สูงอายุทั้งทางกายวิภาคและสรีรวิทยา
ระบบผิวหนัง
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
1 more item...
1.2 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ปัญหาความเจ็บป่วยเรื้อรัง
การปลดเกษียณหรือการออกจากงาน
การเปลี่ยนแปลงทางครอบครัวและสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปัญหาการเดินและการทรงตัว
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ปัญหาการนอนหลับ
โรคกระดูกพรุน
โรคความดันโลหิตสูง
ภาวะซึมเศร้า
ภาวะสมองเสื่อม
พฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกแรงและออกกาลังกายลดลง
พฤติกรรมบริโภคอาหารไม่เหมาะสม
พฤติกรรมการจัดการความเครียดไม่เหมาะสม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอาย
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แนวคิดพฤฒพลัง
ทฤษฎีบทบาททางสังคม
ทฤษฎีการสร้างเสริมพลังอานาจ
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง
กลวิธีการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กลวิธีสร้างแรงจูงใจร่วมกับการพัฒนาทักษะ
การสอนสุขศึกษา (health education)
การเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถตนเอง
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (empowerment)
กลวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2.1 การสร้างเสริมพฤติกรรมออกกาลังกาย
การสร้างเสริมพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร
การสร้างเสริมศักยภาพในการจัดการกับความเครียด
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอาย
ประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุ
ให้คำปรึกษา
สอนและให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
สร้างคุณค่าและแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุ
ประสานความร่วมมือระหว่างทีมสุขภาพกับหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน
สร้างสัมพันธภาพ