Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการวัสดุครุภัณฑ์ของโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การจัดการวัสดุครุภัณฑ์ของโรงพยาบาล
วัสดุครุภันฑ์
วัสดุ คือ สินทรัพย์ที่ส่วนงานมีไว้เึพื่อใช้ในการดำเนินงานตามปกติ ไม่มีมูลค่าสูงไม่คงทนใช้เเล้วหมดไปสิ้นเปลือง
ครุภัณฑ์ คือ สินทรัพย์ที่ใช้ในการดำเยิยงานมีความคงทนเเละอายุการใช้งานเกิน1ปี มีราคาตั้งเเต่ 5,000 บาท ขี้นไป
พัสดุ คือ วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน เเละสิ่งก่อสร้างที่กำหนดไว้ในหนังสือการจำเเนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ
ความสำคัญ
ต่อผู้ใช้
การจัดการวัสดุมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทำให้วัสดุที่มีคุณภาพไม่มีความเสี่ยงต่อผู้ป่วย
ต่อผู้ป่วย
โรงพยาบาลจะใช้จัดหายา เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยอย่างปลอดภัยมีคุณภาพมาตรฐาน
ต่อโรงพยาบาล
การจัดชื่อจัดจ้างวัสดุคุณภาพดี ราคาเหมาะสม ใช้งานคุ้มค่า
ประเมินผลการจัดการ
1.ประเมินผลการจัดการตามเเผนการจัดหา
2.ประเมินผลการจัดการที่มีเป้าหมายของโรงพยาบาล
-ผลการดำเนินงาน
-เวลา
-ความพึงพอใจ
-ความคุ้มค่า
3.การรายงานการประเมินผล
กระบวนการการจัดการ
การควบคุม
ก็จะมี5กระบวนการ คือ
1.กาารตรวจสอบเอกสารก่อนการอนุมันติ
2.การยืม
3.การจัดทำทะเบียนคุมการเบิก-จ่ายพัสดุ
4.รายงานการเบิก-จ่ายพัสดุ
5.รายงานการตรวจนับพัสดุคงเหลือประจำปี
การบำรุงรักษา
มีความสำคัณ คือ เครื่องมือหรือวัสดุส่วนใหญ่นั้นมีราคาเเพง การที่หยุดการทำงาน หีือการทำงานที่วัดค่าคลาดเคลื่อนจะมีผลกระทบต่อผู้ป่วย ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการดูเเลบำรุงรักษาเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์
วิธีที่ได้มา
วิธีที่ได้มาโรงพยาบาลเอกชน
ขึ้นอยู่กับผู้อำนวยการ/ผู้ที่มีอำนาจหมอบหมายให้รับผิดชอบโดยตรง
วิธีที่ได้มาในกำกับของรัฐ/องค์การมหาชน
เน้นความคล่องตัวในการบริหาร มีข้อบังคับไว้เป็นการเฉพาะ
วิธีที่ได้มาโรงพยาบาลรัฐ
ก็จะมีอยู่หลายวิธีคือ 1.วิธีการเชิญชวนทั่วไป 2.วิธีประกวดราคาอีเล็กทรอนิกส์ 3.วิธีคัดเลือก 4.วิธีเฉพาะเจาะจง
การจำหน่าย
คือ การขยาย การเเลกเปลี่ยน โอนเเละเเปรสภาพ หรือทำลายพัสดุซึ่งหลังจากตรวจสอบเเล้วพบว่า หมดความจำเป็นในการใช้พัสดุ มีขั้นตอนดังนี้
1.รายงานวัสดุครุภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้งานได้
2.การประเมินราคากลางของวัสดุครุภัณฑ์ที่พร้อมจำหน่าย
3.การดำเนินการจำหน่ายวัสดุครุ๓ัณฑ์
4.การตัดรายการทำจำหน่ายออกจากทะเบียนควบคุม
5.การลงบัญชีเมื่อมีการจำหน่ายพัสดุ
การวางเเผน
เเผนการจัดเก็บ
เมื่อได้เเผนการจัดหาเเล้วก็ต้องหาที่เก็บเเละการนำออกมาใช้อย่างเป็นระบบ
เเผนการจำหน่าย
ในเเต่ละปีควรมีการวางเเผนการจำหน่ายวัสดุครถภัณฑ์ที่ไม่มีความจำเป็นการใช้งาน เสื่อมสภาพ เเละควรมีเเผนการเคลื่อนย้ายอย่างชัดเจน
เเผนการจัดการ
-งบประมาณในการจัดการ
-วิธีการในการได้มา
-คุณลักษณะ
-ช่วงเวลาที่ต้องการใช้
-ผู้รับผิดชอบ
-เเหล่ง/ผู้จำหน่าย
การติดตาม ตรวจสอบ
1.การติดตามการดำเนินการตามเเผน
2.การติดตามการจัดการตามกฏระเบียบ
3.การรายงานผลการติดตามเเละตรวจสอบ มีรายงานเป็นลายลักษณ์อักสรทุกครั้ง หากพบการดำเนินการที่ส่อไปในทุจริต อาจเสนอรายงานในทางลับต่อผู้มีอำนาจโดยตรง
พัฒนาระบบวัสดุครุภัณฑ์
โรงพยาบาลเอกชน
สามารถกำหนดข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุใช้เองไม่ต้องใช้ระเบียบเหมือนกับโรงพยาบาลรัฐ มีเเนวทางในการพัฒนาดังนี้
1.ให้มีการมอบอำนาจในการอนุมัติเเละดำเนินการ เพื่อลดขั้นตอน
2.ให้มีการตรวจสอบก่อนการอนุมัติโดยผู้มีอำนาจ
3.กรณีพบว่าข้อกำหนดใดเป็นปัญหา ให้ผู้เกี่ยวข้องเสนอผู้อำนวยการ เพื่อทำการปรับปรุงเเก้ไขปัญหา
โรงพยาบาลในกำกับของรัฐ
1.การพัฒนาระบบงบประมาณเเละบัญชีต่อการพัฒนาระบบพัสดุ
2.การดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลของรัฐ
1.พัฒนาเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
2.เลือกผู้บริหารที่ดีมีคุณธรรม
3.ให้หน่วยงานด้านพัสดุเสนอเเผนงานเพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณ
4.ให้หน่วยงานพัสดุเสนอรายงานการจัดชื้อ/จ้างประจำปี
5.กำหนดช่วงเวลาดำเนินการอย่างชัดเจน
6.เชื่อมโยงข้อมูลตามรับบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากงบประมาณที่ได้รับ
7.ระบบจััดหาเเบบส่งมอบให้ใช้ทันเวลาพอดี
8.จัดซื้อยาเวชภัณฑ์เเละวัสดุจำนวนมากๆในโรงพยาบาลที่ใกล้เคียงกัน
9.พัฒนาระบบวัสดุในลักษณะการเชื่อโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยงข้อง