Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคในกลุ่มอาการทาง โลหิตวิทยาเเละอาการซีด - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรคในกลุ่มอาการทาง
โลหิตวิทยาเเละอาการซีด
โรคเลือดจางเอ็มดีเอส (Myelodysplastc syndrome)
สาเหตุ
ปัจจัยทางสิ่งเเวดล้อม
การได้รับยา (โดยเฉพาะยาเคมีบำบัด)
สารเคมี (เช่น เบนซีน ยาฆ่าเเมลง การสูบบุหรี่) หรือการฉายรังสี
ปัจจัยอื่นๆ
ไขกระดูกฝ่อ เพิ่มความเสี่ยง
ปัจจัยทางพันธุกรรม
โรคเลือดพันธุกรรมบางโรคเพื่มความเสี่ยง
การเปลี่ยนเเปลงของหน่วยพันธุกรรม
อาการเด่น
เม็ดเลือดเเดงต่ำ
เวียนศีรษะ
เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย
หนึ่งในสามได้รับเลือดประจำก่อนวินิจฉัย
มีภาวะซีด
เกล็ดเลือดต่ำมาก
เลือดออกผิดปกติ
มีจุดเลือดออกเล็กๆเท่าปลายเข็มที่ผิวหนัง
เลือดหยุดยากกว่าปกติ
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ติดเชื้อแทรกซ้อน เช่น มีไข้
สิ่งตรวจพบที่สำคัญ
หายใจไม่อิ่ม
มีรอยช้ำไม่ทราบสาเหตุ
เลือดออกง่ายหรือเลือดไหลไม่หยุด
เวียนศีรษะ
อ่อนเพลีย
การรักษา
ปลูกถ่ายเซลล์กำเนิดเม็ดเลือด
(ปลูกถ่ายไขกระดูก)
ให้เลือดเเละเกล็ดเลือดในการณีที่มีภาวะซีดจากภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
เคมีบำบัดขนาดต่ำ หรือให้ยาใหม่ซึ่งออกฤทธิ์ต่อหน่วยพันธุกรรม
รักษาด้วยการให้ฮอร์โมนกระตุ้นเม็ดเลือดแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดเพื่อระบุเซลล์เม็ดเลือด เซลล์เม็ดเลือดขาว เเละเกล็ดเลือด
การเจาะไขกระดูกเพื่อไปตรวจหาความผิดปกติ
โลหิตจางจากภูมิคุ้มกันทำลายเม็ดเลือดแดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเม็ดเลือดจะพบค่าฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริทต่ำ โดยที่เม็ดเลือดแดงมีขนาดปกติหรือใหญ่ขึ้นเล็กน้อย จะตรวจพบค่าบิลิรูบินสูงขึ้นได้เนื่องจากเป็นสารที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง เมื่อเม็ดเลือดแดงถูกทำลายสารนี้จึงออกมาในเลือดเพิ่มขึ้น เป็นสารที่ทำให้เกิดภาวะตาเหลือง
สิ่งตรวจพบที่สำคัญ
ภาวะปลายมือปลายเท้าเขียวในโรคโลหิตจางจากภูมิคุ้มกันทำลายเม็ดเลือดแดงชนิดแอนติบอดี้ที่ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ
การรักษา
1.ชนิดแอนติบอดี้ที่ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูง
ยาหลักที่ใช้ในการรักษา คือยาสเตียรอยด์ ที่นิยมใช้ได้แก่ เพรดนิโซโลน ขนาด 1-1.5 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยา หรือกลับเป็นซ้ำ แพทย์จะทำการตรวจเลือดเป็นระยะเพื่อดูการตอบสนองต่อยา ถ้ามีการตอบสนองดีระดับฮีโมโกลบินเพิ่มขึ้น จะทำการปรับลดยาลง ควรได้รับยาบำรุงเลือดโฟลิคแอซิด
การให้เลือด โดยทั่วไปมักไม่จำเป็นต้องให้เลือด แต่ในกรณีที่เม็ดเลือดแดงแตกรุนแรงและรวดเร็วทำให้ซีดมากและผู้ป่วยมีโรคหัวใจหรือโรคปอดร่วมด้วยซึ่งจะเป็นอันตรายต่อชีวิต พิจารณาให้เลือดได้
การรักษาอื่นๆ ได้แก่ การตัดม้าม การให้ยากดภูมิคุ้มกันชนิดอื่น หรือการให้ยาแอนติบอดี้ต่อซีดี 20 (Rituximab) อาจพิจารณาให้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาสเตียรอยด์
2.ชนิดแอนติบอดี้ที่ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ
ผู้ป่วยมักมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไปและส่วนน้อยที่ต้องได้รับการรักษา แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอากาศเย็นเนื่องจากจะทำให้ผู้ป่วยที่ซีดเล็กน้อย ในกรณีที่อาการรุนแรงมากขึ้น พิจารณาให้ยาแอนติบอดี้ต่อซีดี 20(Rituximab) นอกจากนี้พบว่าการให้ยากดภูมิคุ้มกันชนิดคลอแรมบูซิล หรือไซโคลฟอสฟาไมด์ อาจได้ผลในกรณีที่เป็นเรื้อรัง การให้ยาในกลุ่มสเตียรอยด์ หรือการตัดม้าม ได้ผลไม่ดีในผู้ป่วยกลุ่มนี้ ในกรณีที่ซีดมากสามารถพิจารณาให้เลือดได้เช่นเดียวกัน
อาการเด่น
1-2 wks. อ่อนเพลีย จนมีคนทักว่าดูซีดลง อาจพบตาเหลืองเพิ่มขึ้นได้ ปัสสาวะจะมีสีเข้มขึ้น บางคนอาจมีไข้ต่ำๆร่วมด้วยก็ได้ ในชีวิตที่เกิดจากแอนติบอดี้ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำ อาจพบอาการปลายมือปลายเท้าเขียวได้
สาเหตุ
ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ต่อเม็ดเลือดเเดงของตัวเอง ทำให้เม็ดเลือดแดงถูกทำลายเเละเกิดภาวะโลหิตจาง
โรคฮีโมฟีเลีย
สิ่งตรวจพบที่สำคัญ
เลือดออกในชั้นกล้ามเนื้อหรือใต้ผิวหนังซึ่งทำให้พบรอยช้ำหรือรอยพรายย้ำได้บ่อย ๆ ที่ตำแหน่งแขนและขาหรืออาจพบรอยช้ำขนาดใหญ่ในตำแหน่งกระทบกระแทกเล็กน้อย ส่วนเด็กเล็กที่เป็นโรคฮีโมฟิเลียเวลาฟันขึ้นอาจพบเลือดออกที่เหงือก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Screening coagulogram usnout activated partial thromboplastin time (APTT) .prothrombin time (PT), และ throunbin time (TT) จะพบค่ายาวกว่าค่าปกติเฉพาะ AFTT test เท่านั้น
การตรวจวัดระดับแฟคเตอร์ (FULFIN away far activities) เป็นการตรวจยืนยันการวินิจฉัย (definitive diagrRss.) โดยวัดระดับ NI costing activity (FVIEC) หรือ FIX choting activity (FIXC) เพื่อบอกชนิดและจำแนกความรุนแรงของโรคฮีโมฟีเลีย
Ventus cletting time (VCT) จะพบค่ายาวกว่า 30 นาทีในผู้ป่วยรีโมฟีเลียชนิดรุนแรงมากเท่านั้น
อาการเด่น
มีเลือดออกในข้อที่ต้องใช้งานบ่อย ๆ เช่น ข้อเข่า ซึ่งทำให้เจ็บ ไม่สามารถขยับข้อ เดินได้ลำบาก เลือดออกที่ข้อศอกทำให้ร้องไห้เวลาที่ใส่หรือถอดเสื้อ ไม่ใช้แขนข้างนั้น เลือดออกที่ข้อเท้าทำให้คนไข้ไม่อยากเดิน
การรักษา
ควรทำการประคบเย็นเพื่อหยุดเลือดออกและลดความเจ็บปวด ควรประคบ 15 นาที ทุก 6 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมงแรกเมื่อเกิดอาการ
ไม่ควรเคลื่อนไหวข้อที่เกิดเลือดออกเพราะอาจเกิดเลือดออกซ้ำและข้อยิ่งบวมมากขึ้น อาจใช้ผ้ายืดยึดตรึงข้อนั้น อาจกินยาแก้ปวดระหว่างมีอาการเลือดออก
ให้แฟกเตอร์ทันทีเพื่อช่วยหยุดเลือดออกซึ่งมีผลทำให้ใช้ปริมาณแฟกเตอร์น้อยลงได้ หลังจาก 24-48 ชั่วโมงควรประคบอุ่น 15 นาทีเพื่อช่วยละลายเลือดที่อยู่ในข้อเพื่อทำให้ข้อยุบบวมลง ไม่ควรลงน้ำหนักข้อประมาณ 1 สัปดาห์ ระหว่างนั้นควรมีการฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อบริเวณข้อที่มีเลือดออกเพื่อไม่ให้เกิดกล้ามเนื้อลีบ
สาเหตุ
เป็นการกลายพันธุ์ของยีนที่ควบคุมการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่เรียกว่าแฟคเตอร์ 8 และ9 ซึ่งเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยผ่านทางโครโมโซมเพศชนิด X ดังนั้นมักเกิดโรคในเพศชาย โดยเพศหญิงที่มียีนแฝง
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
สิ่งตรวจพบที่สำคัญ
ภาวะซีด ตับโต มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เเละม้ามโต
อาการเด่น
เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ตับม้าม ต่อมน้ำเหลืองโต
อาการที่พบมากที่สุด
ภาวะซีด ตับโต มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เเละม้ามโต
ไขกระดูกล้มเหลว
ซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย มีไข้ เป็นหวัดเรื้อรัง มีจุดจ้ำเลือด เลือดออกง่าย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจไขกระดูกทางพยาธิสภาพ
การตรวจพันธุกรรม
การตรวจโครโมโซม
การเอกเรย์
การตรวจ CBC
การซักประวัติอาการเเละการตรวจร่างกาย
การเจาะน้ำไขสันหลัง
การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การรักษา
การใช้รังสีรักษา
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การใช้เคมีบำบัด
การรักษาแบบยีนบำบัด
สาเหตุ
สารรังสี
อัตราเฉลี่ยสูงสุด อายุน้อยกว่า 10 ปี หรือมากกว่า 50 ปี
สารเคมี
เบนซินหรือสารเคมีอย่างอื่น ทำงานโรงงานฟอกหนัง ทำสี
ผู้ที่สัมผัสน้ำมัน ถ่านหิน ยาฆ่าเเมลง ยาย้อมผม 10 เท่า
อุบัติการณ์เกิดโรคสูง เช่น ผู้ที่ทำงานโรงงานฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์ยาง
พันธุกรรม
พี่น้อง 3 เท่า / แสดงก่อนอายุ 2 ปี
บุหรี่
Carcinogen 31%
เบนซิน
Polonium 210
aromatic hydrocarbons
การติดเชื้อไวรัส
การเปลี่ยนเเปลงของโครโมโซม
ไวรัสบางชนิด
โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
อาการเด่น
มีความผิดปกติของกระดูกลักษณะรูปโครงหน้า
มีปัสสาวะสีเข้ม มักมีอาการอ่อนเพลียและเหนื่อยง่ายผิวซีด หรือผิวสีเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
การตรวจชนิดฮีโมโกลบินบนสนามไฟฟ้า (Hemoglobin Electrophoresis) ซึ่งช่วยแยกความแตกต่างของโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดง ใช้ในการระบุประเภทความผิดปกติที่เกิดกับเซลล์เม็ดเลือดแดง
การตรวจ พี.ซี.อาร์ (Polymerase Chain Reaction; PCR) ซึ่งเป็นการตรวจสารพันธุกรรม (DNA)
การตรวจเม็ดเลือดแดงขนาดเล็ก (microcytic red blood cells) โดยใช้วิธีตรวจนับเม็ดเลือดอย่างครบถ้วน CBC
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
ฮีโมโกลบิน ผู้ป่วยอาจได้รับโรคนี้จากพันธุกรรมโดยพ่อหรือแม่
หากพ่อหรือแม่ คนใดคนหนึ่งเป็นพาหะของธาลัสซีเมีย
เกิดจากความผิดปกติของการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน
การรักษา
การรักษาส่วนใหญ่ในปัจจุบันเป็นการรักษาโรคตามอาการและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากอาการซีด เช่น การให้เลือด (Blood Transfusions)
การทำคีเลชั่น (Chelation Therapy)
สิ่งที่ตรวจพบ
พบอาการซีดเรื้อรัง เหนื่อยง่าย ตัวเหลืองตาเหลือง จากม็ดเลือดแดงแตกง่าย
Immune thrombocytopenic purpura (ITP)
สิ่งตรวจพบที่สำคัญ
อาจจะพบประวัติการติดเชื้อไวรัส เช่น อาการหวัด ไข้ ไข้ออกผื่น หรือประวัติได้รับวัคซีนเชื้อเป็นบางชนิด ก่อนมีอาการประมาณ 2-4 สัปดาห์ ตรวจร่างกาย จะพบอาการเลือดออกดังกล่าว อาจจะมีอาการซีดได้บ้าง ถ้าอาการเลือดออกเป็นมานานเรื้อรัง แต่จะไม่พบ ต่อมน้ำเหลืองโต หรือ ตับม้ามโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC จะพบเกล็ดเลือดต่ำกว่าปกติเพียงอย่างเดียว โดยไม่พบความผิดปกติของเม็ดเลือดชนิดอื่น ยกเว้นอาจพบภาวะซีด ซึ่งต้องสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของเลือดออก
การดูสเมียร์เลือด พบปริมาณเกล็ดเลือดลดลง แต่การติดสีและขนาดจะปกติ ต้องแยกภาวะที่เกิดจากการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือดจากสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดซึ่งปริมาณเกล็ดเลือดไม่ได้ต่ำจริง
การตรวจไขกระดูก พบจำนวนของ megakaryocyte ปกติ หรือเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะระยะตัวอ่อน (immature) ส่วนเซลล์สาย myeloid และ erythroid พบอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การตรวจหา autoimmune antibody เช่น มีหลายการศึกษาพบ antiplatelet antibody, antithyroid antibody และ antinuclear antibody (ANA) ให้ผลบวกในผู้ป่วย ITP มากกว่ากลุ่มที่ไม่เป็น
อาการเด่น
อาจจะพบประวัติการติดเชื้อไวรัส เช่น อาการหวัด ไข้ ไข้ออกผื่น หรือประวัติได้รับวัคซีนเชื้อเป็นบางชนิด ก่อนมีอาการประมาณ 2-4 สัปดาห์ ตรวจร่างกาย จะพบอาการเลือดออกดังกล่าว อาจจะมีอาการซีดได้บ้าง ถ้าอาการเลือดออกเป็นมานานเรื้อรัง แต่จะไม่พบ ต่อมน้ำเหลืองโต หรือ ตับม้ามโต
การรักษา
ยา Eltrombopag หรือยา Romiplostim เป็นยาชนิดฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนัง เพื่อช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างเกล็ดเลือด
5.การผ่าตัดม้าม หากรักษาด้วยวิธีการใช้ยาแล้วไม่เป็นผล
อิมมิวโนโกลบูลิน (Immunoglobulins) หรือ ริทูซิแมบ (Rituximab) เป็นยาชนิดฉีดเข้าเส้นเลือด เพื่อยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน
4.การให้เลือดหรือเกล็ดเลือด ในผู้ป่วยที่มีเลือดออกหรือผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเลือดออกมาก
ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) ในรูปแบบยารับประทานหรือยาฉีด เพื่อชะลอการทำลายเกล็ดเลือด เช่น เพรดนิโซน (Prednisone)
สาเหตุ
มักจะเกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งทำให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อเกล็ดเลือดของตนเองทำให้เกิดการทำลายเกล็ดเลือดของตนเอง จำนวนเกล็ดเลือดในกระแสเลือดจะลดต่ำลงทำให้เกิดปัญหาเลือดออกเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
นางสาวอธิภัทร หยกวิกัยกุล เลขที่61รหัส61110301140
นายอนวัช บุษเนียรเลขที่62 รหัส61110301141
นางสาวอนัญญา กลิ่นสุคนธ์เลขที่63 รหัส61110301142
นางสาวอนัญญา วงศ์เหิมเลขที่64รหัส61110301143
นายอนุชิต คนฑาเลขที่65รหัส61110301144
นางสาวอภิญญา แก้วแสนซาวเลขที่66รหัส61110301145
นางสาวอภิญญา เจริญชาติเลขที่67 รหัส61110301146
นางสาวอภิญญา อ่างอินทร์เลขที่68รหัส61110301147
นางสาวอมินธิตา วงษ์ละคร เลขที่69รหัส61110301148
นางสาวอรณัฐ สำนิประโคนเลขที่70รหัส61110301149
อาการซีด
อาการทางโลหิตวิทยา