Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคในระบบ กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ, นางสาวหทัยภัทร…
การวินิจฉัยแยกโรคในระบบ
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ
กระดูกหัก (fracture bone)
ชนิดของกระดูกหัก
กระดูกหักชนิดธรรมดา (simple /closed fracture)
กระดูกหักอย่างเดียว ไม่มีบาดแผลที่ผิวหนัง กระดูกไม่โผล่
ออกนอกผิวหนัง
กระดูกหักชนิดซับซ้อนหรือมีบาดแผล (compound/open fracture)
มีบาดแผลลึกถึงกระดูก หรือกระดูกหักทิ่มแทงออกนอกเนื้อ
อาจทำให้ตกเลือด เส้นประสาทถูกทำลาย ติดเชื้อได้ง่าย
อาการ
เจ็บปวดบริเวณที่หัก บวม เขียวช้ำ เจ็บปวดมากขึ้นเวลา เคลื่อนไหวหรือกด แขนขาที่หักอาจผิดรูปร่าง เช่น โก่งงอ หรือสั้นกว่าปกติอาจได้ยินเสียงกระดูกสีกัน เสียงกรอบแกรบ
การรักษา
หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาล
ปฐมพยาบาล ห้ามเลือด ดามกระดูกส่วนที่หักไว้
ถ้ามีภาวะช็อค ให้ IV fluid แล้วส่ง รพ.
ถ้า x-ray พบว่าหัก แพทย์จะใส่เฝือก หรืออาจต้องผ่าตัด
สาเหตุ
การได้รับบาดเจ็บในผู้สูงอายุ กระดูกเปราะ กระดูกบาง
ข้อแพลง (sprain)
สาเหต
เส้นเอ็น หรือกล้ามเนื้อที่ยึดรอบข้อต่อฉีกขาด จากการหกล้ม ข้อ
บิด ถูกกระแทก หรือยกของหนัก
อาการ
ปวด เจ็บข้อหลังบาดเจ็บทันที เจ็บมากเวลาเคลื่อนไหวข้อหรือถูกกด อาการรุนแรงมากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณของเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อที่ฉีกขาด ข้อมีลักษณะบวมแดงและร้อน อาจมีรอยเขียวช้ำ
การรักษา
ปฐมพยาบาลใช้หลักการ “RICE” method : rest, ice, compression, elevation
ถ้าปวด ให้ยาแก้ปวดหรือยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์หรือ NSAID
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์ หรือสงสัยกระดูกหัก ควรส่ง รพ.
รูมาตอยด์(Rheumatoid arthritis)
สาเหตุ
มีการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุข้อเกือบทุกแห่งทั่วร่างกาย พร้อม ๆ กัน ร่วมกับมีการอักเสบของพังผืดหุ้มข้อ เส้นเอ็นและกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อ เชื่อว่าเป็นผลจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีการตอบสนองอย่างผิดปกติต่อเชื้อโรคหรือสารเคมบางอย่าง ทำให้มีการสร้าง antibody ต่อเนื้อเยื่อในบริเวณข้อของตนเอง ที่เรียกว่า autoimmune
อาการ
มีอาการอักเสบของข้อ เริ่มจากข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ข้อมือ ข้อเท้า ข้อ
เข่า จากนั้นไปที่ข้อไหล่ ข้อศอก
ลักษณะจำเพาะ คือมีการปวดข้อพร้อมๆ กันและปวดทั้งสองข้าง
ข้อบวมแดง ร้อน นิ้วมื้อนิ้วเท้าบวมเป็นรูปกระสวย
เริ่มด้วยอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อและ
กระดูกนำมาก่อนนานเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน
อาการปวดข้อมักเป็นช่วงตื่นนอนหรือตอนเช้า
บางรายมีการอักเสบเพียงข้อเดียว หรือไม่กี่ข้อ หรือปวดกลางคืน
การรักษา
หากสงสัย แนะนำไป รพ. เพื่อตรวจยืนยัน เจาะเลือดตรวจ พบค่า ESR สูง , พบ Rheumatoid factor และ X-ray พบความผิดปกติของข้อ
ให้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่ steroid (NSAID) โดยให้ aspirin หลังอาหาร : ผู้ใหญ่ วันละ 4-6 กรัม /เด็ก 60-80 mg ต่อ 1 กก.ต่อวัน ให้ร่วมกับยาลดกรด
กายภาพบำบัด
เกาต์ (Gout)
สาเหตุ
เกิดจากร่างกายสร้างกรดยูริค (uric acid) มากเกินไป มีการคั่งของ uric acid
ค่าวิกฤตคือ >12 mg/dl
หรือเกิดจากไตขับ uric acid น้อยลง
จึงสะสมตกผลึกอยู่ตามข้อ ผิวหนัง ไต และอวัยวะอื่นๆ
อาการ
ข้อที่พบมาก คือนิ้วหัวแม่เท้า
ผิวหนังบริเวรข้อที่บวมจะตึง ร้อนและแดง
ถ้าปวดครั้งแรก มักเป็นข้อเดียว ข้อบวม เจ็บมากจนเดินไม่ไหว
ลักษณะจำเพาะ ผิวหนังบริเวณที่ปวดจะลอกและคัน
ปวดข้อรุนแรง แบบฉับพลัน
มักปวดตอนกลางคืน หลังดื่มแอลกอฮอล์ เครียด หรือติดเชื้อ
ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะมีอาการถี่ขึ้น ระยะเวลาที่ปวดจะ
นานขึ้นและปวดตลอดเวลา และเพิ่มจำนวนข้อที่ปวด
ระยะหลังการอักเสบเรื้อรัง จะมีปุ่มก้อนขึ้นบริเวณข้อทอักเสบ เรียกว่า ตุ่มโทฟัส (tophus/tophi) เป็นตุ่มที่สะสมสารยูริค ต่อมาอาจเกิดความพิการและใช้งานไม่ได้
การรักษา
ถ้ามีอาการชัดเจน ให้ colchicine 0.5 mg 1 เม็ดทันที ถ้าไม่มีให้ NSAID เช่น indomethacin หรือ ibuprofenแต่ไม่ควรให้เกิน 3 วัน และควรให้ยาลดกรดร่วมด้วย
ในรายที่ไม่ดีขึ้น หรืออาการไม่ชัดเจน ควรส่ง รพ.
ระหว่างที่ไม่มีอาการปวด ควรให้ colchicine 0.5 mg วันละ 1-2 เม็ด เป็นประจำ เพื่อป้องกันการอักเสบ
คาร์พัลทูนแนล (carpal tunnel syndrome : CTS)
สาเหต
เกิดจากการบาดเจ็บที่ข้อมือ มีการใช้งานของข้อมือมากกว่าปกติ
อาจพบร่วมกับโรคปวดข้อรูมาตอยด์hypothyroid DM obesity
บางรายไม่ทราบสาเหตุ
อาการ
บางครั้งปวดร้าวไปแขน หัวไหล
มักปวดมากตอนกลางคืนหรือ เช้ามืด
มือข้างที่เป็นจะปวดแสบปวดร้อน รู้สึกชาเป็นพักๆ
ถ้าเป็นมาก มือข้างที่เป็น นิ้วทั้งห้าจะชาและอ่อนแรง
การใช้ข้อมือจะทำให้ปวดหรือชามากขึ้น
test
Phalen’s test
Tinel’s sign
การรักษา
ถ้าไม่ปวดมาก ให้ยาแก้ปวด หรือ NSAID
บางรายอาจต้องฉีด steroid เข้าข้อมือข้างที่ปวด
หากสงสัย ควรส่ง รพ.
ถ้าเป็นมากอาจต้องผ่าตัด
เส้นเอ็นอักเสบ (tendinitis)
สาเหตุ
เกิดจากการอักเสบของเส้นเอ็น จากการได้รับบาดเจ็บ หรือทำงานหนัก
อาการ
เจ็บปวดบริเวณเส้นเอ็นที่อักเสบ ปวดมากเวลาเคลื่อนไหว
ไปในทิศทางที่ทำให้เส้นเอ็นส่วนนั้นถูกยึดและดึงรั้ง
มักเป็นนานเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน
การรักษา
ให้ยา NSAID เพื่อทุเลาปวด
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นใน 2 สัปดาห์ ควรแนะน าไป รพ. บางราย x-ray พบหินปูนที่เส้นเอ็น
ควรหยุดพักการใช้ข้อที่ปวด ใช้น้ำอุ่นประคบ ทานวดด้วยยาหม่องหรือขี้ผึ้งน้ำมันระกำ พันข้อที่ปวดด้วยผ้าตรึงลดการเคลื่อนไหว
ถ้าปวดมาก อาจฉีด steroid ตรงบริเวณที่ปวด แต่ไม่ควรฉีดเกินปีละ 2-3 ครั้ง จะทำให้เส้นเอ็นเปื่อยยุ่ยได้
ข้อเสื่อม (osteoarthritis)
สาเหตุ
เกิดจากข้อเสื่อมตามวัย หรือข้อรับน้ำหนักมากเกินไป หรือมีการบาดเจ็บ ทำให้กระดูกอ่อนบริเวณข้อต่อสึกกร่อน และมีกระดูกงอก เวลาเคลื่อนไหวข้อจะปวดขัดในข้อ
หรือเกิดจากกรรมพันธุ์ อายุมาก อ้วน อาชีพที่ต้องใช้ข้อมาก
อาการ
ปวดข้อเรื้อรังเป็นเดือน หรือปี
บางครั้งมีเสียงกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหว
ถ้าเป็นมากข้อจะบวม และมีน้ำในข้อ
ถ้าเป็นที่ข้อเข่า จะปวดมากขณะเปลี่ยนจากท่านั่งเป็นท่ายืน หรืออยู่ในท่างอเข่า เช่น นั่งพับเพียบ คุกเข่า นั่งขัดสมาธิ เดินขึ้นลงบันได หรือยกของหนัก
การรักษา
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้อาการปวดข้อกำเริบ ท่านั่งให้นั่งเหยียดเข่าตรง หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได
ถ้าน้ำหนักมากควรลดน้ำหนัก
ถ้ามีอาการปวด ให้พักข้อที่ปวด ประคบร้อน และใหวparacetamol ถ้าปวดมาก ให้ NSAID 3-5 วัน
บริหารกล้ามเนื้อเคลื่อนไหวข้อให้แข็งแรง
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือข้อบวมปวดมาก ชาแขนขา แนะนำไป รพ.
ข้อสันหลังอักเสบเรื้อรัง
(ankylosing spondylitis)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
เกี่ยวข้องกับ autoimmune และอาจเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์
อาการ
อาจมีปวดร้าวลงขา
ถ้าเป็นรุนแรงอาจมีไข้ เพลีย เบื่ออาหาร ซีด น้ำหนักลด
ปวดมากเวลานอน มีอาการหลังแข็ง จะดีขึ้นหลังมีการ
เคลื่อนไหว
ปวดหลังหรือปวดบั้นเอว ระยะแรกจะปวดเป็นครั้งคราว
กินยาแก้ปวดดีขึ้น
อาการแทรกซ้อน
ข้อต่อกระดูกซี่โครงติดแข็งทำให้สมรรถภาพปอดลดลง
ประสาทสันหลังส่วนล่างผิดปกติ ปวดขา กล้ามเนื้ออ่อน
แรง กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้
ข้อต่อสันหลังเชื่อมติดกันจนมีความพิการ ทำให้หลังโก่ง
ข้อสะโพกติดแข็งจนยืนและเดินไม่ได้
การรักษา
ตรวจเลือดพบ ESR และ C-reactive protein สูงกว่าปกติ
ระยะที่เป็นมาก X-ray พบความผิดปกติของข้อต่อ
กระดูกสันหลังและข้อต่อสะโพก
หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อตรวจยืนยัน
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
ให้การรักษาตามอาการ
กายภาพบำบัด เพื่อให้คงรูปทรงในท่าตรง ให้ยืนและนั่งตรงได้
การผ่าตัดในระยะท้ายของโรคที่มีการติดแข็งของข้อ เช่น
เปลี่ยนข้อสะโพก ดัดกระดูกเอวให้ตรง
ให้ยา NSAID ที่ให้ผลดีคือ indomethacin ปรับ dose ตาม
ความรุนแรงของการปวดและระยะของโรคในผู้ป่วยแต่ละราย
ปวดกล้ามเนื้อหลัง (musculotendinous strain)
อาการ
อาจเกิดฉับพลันหรือเป็นทีละน้อย
หรืออาจปวดตลอดเวลา หรือปวดเฉพาะบางท่า
ปวดบริเวณกลางหลังส่วนล่าง
การไอ จาม หรือบิดเอี้ยวตัว อาจทำให้ปวดมากขึ้น
การรักษา
ถ้าปวดมาก ให้นอนหงายบนพื้น แล้วใช้เท้าพาดบนเก้าอี้ให้
เข่างอเป็นมุมฉาก อาจทุเลาได้
ถ้าไม่หาย ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น Methocarbamol หรือ
Orphenadrine ครั้งละ 1 เม็ด ให้ซ้ำาได้ทุก 6-8 ชม.
รักษาตามสาเหตุ
ถ้าไม่ดีขึ้นให้ยาแก้ปวด เช่น aspirin หรือ paracetamol
ถ้าเป็นเรื้อรัง หรือปวดร้าวมาขา/ชาขา ควรแนะน าไป รพ.
ใช้ยานวด หรือประคบอุ่น
สาเหตุ
ใส่รองเท้าส้นสูงมากเกินไป นอนที่นอนนุ่มเกินไป
ก้มๆ เงยๆ ทำให้เกิดแรงกดตรงกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง
จากการทำงาน เช่น ยกของหนัก นั่ง ยืน ในท่าที่ไม่ถูกต้อง
นางสาวหทัยภัทร เกียรตินอก 614991043
หมู่เรียน 61/99