Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligence)
เชาวน์ปัญญามีหลากหลายถึง 8 ด้าน
Linguistic Intelligence
Logical – Mathmatical Intelligence
Visual – Spatial Intelligence
Naturalist Intelligence
Intrapersonal Intelligence
Musical Intelligence
Interpersonal Intelligence
Bodily – Kinesthetic Intelligence
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
วัดและประเมินผลหลายด้าน
จัดกิจกรรมที่หลากหลาย
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
การประเมินผลเป็นแบบ goal free evaluation ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ครูเป็นผู้ให้ความร่วมมืออำนวยความสะดวกช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผู้เรียนนำตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้
การสาธิต เป็นการแปลความหมายและสร้างความหมายที่หลากหลาย
ผลการเรียนรู้ เน้นกระบวนการสร้างความรู้ และตระหนักรู้ในกระบวนการ
เป้าหมายการเรียนรู้ ฝึกจากการปฏิบัติงานจริง
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)
การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังงานความรู้ในตัวเองและด้วยตนเอง ผู้เรียนได้สร้างความคิด แล้วนำความคิดน้ันไปสร้างสรรค์ชิ้นงาน
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
การออกแบบวัสดุ การนำเทคโนโลยีมาใช้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดีหลากหลายแตกต่างกันตามความสนใจ
ความถนัด และความสามารถ
การประเมินผลงาน(product) กระบวนการ (process) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ครูอำนวยความสะดวกให้คำปรึกษา ชี้แนะ เกื้อหนุน ผู้เรียน
LEGO TC Logo, micro-worlds, robot design โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative /Collaborative)text
ประเภทของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบไม่เป็นทางการ (informal cooperative learning group)
1. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเป็นทางการ (formal cooperative learning group)
3. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบถาวร (cooperative base group)
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
การกำกับดูแล ช่วยเหลือกลุ่ม สังเกตการณ์ สรุปประเด็นการเรียนรู้
การจัดกจิกรรม = ชี้แจงงานกลุ่ม พฤติกรรมท่ีคาดหวัง เกณฑก์การประเมิน การทำกิจกรรมกลุ่ม ความร่วมมือการช่วยเหลือ ความรับผิดชอบ
การวางแผนการสอน = กำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียน ขนาดกลุ่ม องค์ประกอบกลุ่ม บทบาทของสมาชิกในกลุ่ม จัดสาระ วัสดุ สถานท่ี
การประเมินผล = ด้านปริมาณ คุณภาพ วิธีการท่ีหลากหลาย ผู้เรียนมีส่วนร่วม
วิเคราะห์กระบวนการทำงานกลุ่ม พฤติกรรมสมาชิกในกลุ่ม เพื่อเรียนรู้และปรับปรุง
เทคนิคการจัดการเรียนรู้
Match Mime
Numbered -head Together
Chat Corner
Color–Coded Co–Op
Round Robin
Cards
Round Table
Team Word–webbing
Inside–outside Circle
Think–Pair Share
Partner
Three – step Interview
Jigsaw
Pair Check
Co–Op Co–Op
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)
การเรียนรู้ของมนุษย์-การทำงานของสมอง
1.การรับรู้ข้อมูล (input) ผ่านประสาทสัมผัส ทั้ง 5 เกิดการรับรู้ การรู้จัก การใส่ใจ
2. การเข้ารหัส (encoding) ความจำระยะสั้น/การเรียกใช้
3.การส่งข้อมูลออก (output) การถอดรหัสข้อมูล
ความจำระยะยาว การขยายความคิด
metacognition : การรู้คิด คือ การตะหนักรู้ความรู้ ความสามารถของตน เพื่อจัดการควบคุม กระบวนการคิด การทางานของตนด้วยกลวิธีต่างๆ ช่วยให้การเรียนรู้และงานสำเร็จ
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
นำเสนอสิ่งเร้าท่ีผู้เรียนรู้จัก คุ้นเคย มีประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและเรียนรู้ได้ดี
การท่องซ้ำ การจัดหมวดหมู่
การเข้า (encoding) (ท่องจาทวนซำ้ทบทวน เรียบเรียง ขยายความความสัม พันธ์ เพื่อให้เกิดความจำระยะยาว
พฤติกรรมทางวาจา /การกระทำ ช่วยกระตุ้นให้นำข้อมูลท่ีเก็บไว้ในหน่วยความจำระยะสั้น /
ความจำระยะยาวออกมาใช้งาน
ทฤษฎีการเรียนรู้สากล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธินิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitivism)
ทฤษฎีเกสตัลท์
กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of similarity)
หลักการจัดการศึกษา
การจัดระเบียบสิ่งเร้า
นำเสนอเนื้อหาเพียงบางส่วน
การจัดการส่งเสริมการคิด
กฎแห่งความใกล้เคียง (Law of proximity)
กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Closure)
กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of continuation)
กฎแห่งความชัดเจน (Clerness)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intelligence Development Theory) ของเพียเจต์ (Piaget)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 3 ขั้น
2.ขั้นคิดจิตนาการหรือสร้างมโนภาพ(iconic stage)
3.ขั้นการใช้สัญลักษณ์และคิดรวบยอด(symbolic stage)
1.ขั้นการกระทำ(enactive stage)
หลักการจัดการศึกษา
ให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ
ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาให้เหมาะสมกับเรียน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intelligence Development Theory) ของเพียเจต์ (Piaget)
กระบวนการทางสติปัญญา
การปรับและการจัดระบบ (accommodation)
การเกิดความสมดุล(equilibration)
การดูดซึม(assimilation)
หลักการจัดการศึกษา
พัฒนา จัดประสบการให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสม
สอนสิ่งที่เป็นรูปธรรม ก่อนนามธรรม
คำนึงว่าผู้เรียนแต่ละครมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
กฎแห่งความพร้อม(Law of Readiness)
กฎแห่งการฝึกหัก(Law of Exercise)
กฎแห่งการใช้(Law of Use and Disuse)
กฎแห่งการฝึกหัก(Law of Effect)
หลักการจัดการศึกษา
ให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องนั้น และฝึกบ่อยๆ ให้เกิด ทักษะ
ให้ผู้เรียนฝึกนำการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อยๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
สำรวจ/สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
ให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพอใจ เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนลองผิดลองถูก เพื่อเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีการวางเงื่อไขของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้
การเสริมแรง
ทดลองกับหนู
หลักการจัดการศึกษา
การลงโทษที่รุนแรง ผู้เรียนจะไม่เรียนรู้
การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ
การเสริมแรงต้องเสริมหลังพฤติกรรมที่เหมาะสม
การเสริมแรงมีทางบวกและทางลบ
ทฤฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาพลอฟและวัตสัน(Classical Conditioning)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัตของพาพลอฟ
หลักการจัดการศึกษา
จัดกิจกรรมให้ต่อเนื่องและลักษณะคล้ายๆกัน
นำความต้องการทางธรรมชาติของผู้เรียนมาเป็นสิ่งเร้า
การตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้าเชื่อมโยงตามธรรมชาติ
กฎแห่งการลดภาวะ(Law of Extinction)
การเรียนรู้ เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองความต้องการตามธรรมชาติ
กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง(Law of Discrimination)
ทดลองให้สุนัขน้ำลายไหลเพราะเสียงกระดิ่ง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของวัตสัน
พฤติกรรมใดๆสามารถทำให้ลดลงและหายไปได้
สามารถควบคุมพฤติกรรมได้ โดยควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงืื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
ทดลองกับหนูขาว
การเรียนรู้จะคงทนหากให้สิ่งเร้าสัมพันธ์ควบคู่กันไปสม่ำเสมอ
หลักการจัดการศึกษา
ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
จัดสิ่งจูงใจ ให้สอดคล้องกับภูมิหลัง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของกัทธรี
ทฤษฎีการเรียนรู้
กฎแห่งความต่อเนื่อง(Law of Contiguity)
กฎแห่งการกระทำครั้งสุดท้าย(Law of Recency))
ทดลองกับแมว โดยปล่อยไว้ในกล่อง
หลักการจูงใจ(Motivation)
การเรียนรู้เกิดจากการจูงใจมากกว่าการเสริมแรง
หลักการจัดการศึกษา
วิเคราะห์งานออกเป็นส่วนย่อย
สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม(Humanism)
ทฤษการเรียนรู้ของโรเจอร์(Roger)
หลักการจัดการศึกษา
ช่วยชี้แนะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ของตัวเอง(self directed)
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ(process learning)
การจัดสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ปลอดภัย
มนุษย์จะพัฒนาตัวเองได้ดี หากอยู่ในสถานะการณ์ที่ผ่อนคลาย เป็นอิสระ
การจัดบรรยากาศ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูเป็นผู้ชี้แนะให้ผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
ความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษยเ์ป็นลำดับขั้น 5 ขั้น
3) ขั้นความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ (Belongingness and love needs)
4) ขั้นความต้องการได้รับการยอมรับนับถือยกย่อง (Esteem needs)
2) ขั้นความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety needs)
5) ขั้นความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs)
1) ขั้นความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs)
มนุษย์ต้องการที่จะรู้จักตนเองและพัฒนาตนเอง
peak experience คือประสบการณ์ที่บุคคลรู้จักตัวเองตามสภาพจริง เข้าใจถ่องแท้สมบูรณ์ จะช่วยให้พัฒนาตนเองได้เป็นอย่างดี
หลักการจัดการศึกษา/หลักการสอน
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ดีต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานก่อน
การเรียนการสอนสามารถใช้ความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจ ช่วยให้ผู้รียน เกิดการเรียนรู้
การช่วยให้ผู้เรียนได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐานของตนอย่างพอเพียง การจัดบรรยากาศ
ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ในการรู้จักตนเองตามสภาพความเป็นจริง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน(Electicism) ของกานเย่ (Gagne)
หลักการจัดการศึกษา/หลักการสอน 9 ขั้น
ขั้นท่ี 5 ให้แนวทางการเรียนรู้ (providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฎิบัติ (eliciting the performance)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ (presentingthestimulus)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลตอบกลับ (feedback)
ขั้นท่ี 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (stimulatingrecallofprerequisitelearnedcapabilites)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ (assessingtheperformance)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ (informing the leaner of the objective)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้ (enhancing retention and transfer
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (gaining attention)
ประเภทของการเรียนรู้8ประเภท (ตามลำดับขั้น)
4. การเช่ือมโยงทางภาษา (verbal association)
5. การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning)
3. การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining)
6. การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning)
2. การเรียนรู้สิ่งเร้า-การตอบสนอง(stimulus-response)
7. การเรียนรู้กฎ (rule learning)
1. การเรียนรู้สัญญาน(signal-learning)
8.การเรียนรู้การแก้ปัญหา(problemsolving)