Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย มภร.10/1 เตียง 20 Dx : Pneumonia with AKI with AF - Coggle Diagram
ผู้ป่วย มภร.10/1 เตียง 20
Dx : Pneumonia with AKI with
AF
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
( Laboratory)
7/2/64
Bun 25.0 mg/dL
Cr 1.06 mg/dL
5/2/64
Bun 30.9 mg/dL
Cr 1.35 mg/dL
4/2/64
Bun 33.9 mg/dL
Cr 1.44 mg/dL
Complete Blood Count : CBC
4/2/64
Hb 10.5 g/dL
Hct 33.6 %
5/2/64
Hb 10.7 g/dL
Hct 35.3 %
6/2/64
Hb 10.7 g/dL
Hct 34.7 %
พยาธิสรีรวิทยา
โรคปอดอักเสบ
( Pnuemonia )
ความหมาย
ปอดอักเสบ เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอด ทำให้เนื้อปอดเเข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง เช่น หืด หลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพอง หรือผู้ที่กินยาสเตียรอยด์เป็นประจำ เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้น
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของโรคนี้ ได้แก่ staphylococcus, streptococcus, klebsiella
เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เชื้อไมโคพลาสมา ซึ่งทำให้เกิดปอดอักเสบชนิด Atypical Pneumonia มักไม่มีอาการหอบเหนื่อยชัดเจน
เชื้อรา แต่พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตชัว เช่น Pneumonia carini ที่พบในผู้ป่วยโรคเอดส์
สารเคมี ที่พบบ่อยได้แก่ น้ำมันก๊าด ซึ่งเกิดจากการสำลักเอาสารเคมีนี้เข้าไปในปอด
อาการและอาการแสดง
อาการไข้สูง หนาวสั่น
หายใจหอบเหนื่อย
ในระยะแรก ไม่มีเสมหะ ต่อมาจะไอมีเสมหะขุ่นข้นออกเป็นสีเหลืองหรือเขียว
บางรายอาจมีอาการเจ็บที่หน้าอกเวลาหายใจเข้าหรือขณะไอแรงๆ
โรคไตวายเฉียบพลัน
( Acute Kidney Injury : AKI )
สาเหตุ
เกิดจากการสูญเสียความสามารถของไตอย่างเฉียบพลัน ในการกำจัดของเสีย เช่น ยูเรีย รวมทั้งการสูญเสียความสามารถในการควบคุมสารน้ำและเกลือเเร่
อาการและอาการแสดง
พบมีปัสสาวะลดลง น้อยกว่า 400 มล./วัน
มีภาวะบวม ( edema ) ตัวบวม ตาบวม
คลื่นไส้อาเจียน อ่อนแรง เบื่ออาหาร ผิวแห้ง
-นอนราบไม่ได้ ความดันโลหิตสูง
แบ่งได้ 3 ระดับ
Prerenal acute kidney injury หมายถึง ภาวะที่ไตถูกทำลาย ที่เกิดจากการมีเลือดไปเลี้ยงไตลดลง ความดันโลหิตต่ำ สูญเสียน้ำในร่างกาย การดูดกลับของโซเดียมและน้ำเสียสมดุล ทำให้เกิดภาวะกรด
Intrarenal acute kidney injury เป็นระยะต่อจาก Prerenal AKI หรือเป็นระยะที่ไตเสื่อมเอง เช่น จากสาเหตุ acute tubular necrosis ซึ่งเกิดจากการขาดเลือกไปเลี้ยงที่ไต
Postrenal acute kidney injury เป็นภาวะไตเสื่อมหรือถูกทำลายที่มีผลมาจากการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ ตั้งเเต่กรวยไตถึงท่อปัสสาวะ มักมีสาเหตุจากนิ่วหรือเนื้องอก
โรคหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะ Atrial fibrillation : AF
ความหมาย
เป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากหัวใจห้องบนเต้นเร็วและไม่สม่ำเสมอ การบีบตัวของหัวใจห้องบนลดลง ส่งผลให้หัวใจสูบฉีดเลือดออกไปได้ลดลง ขณะเดียวกันเลือดที่เหลือตกค้างในหัวใจห้องบนจะแข็งตัวเป็นลิ่มเลือดและอาจหลุดเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดไปสู่สมองทำให้เกิดเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
อาการและอาการแสดง
ใจสั่นหรือหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ
เหนื่อย เพลีย
เจ็บ แน่นหน้าอก
เวียนศีรษะ หรือเป็นลมหมดสติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน
เนื่องจากประสิทธิภาพในการทำงานของปอดลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีเสียงเสมหะในลำคอ
ฟังปอดพบเสียง fine crepitation ที่ปอดด้านซ้าย
ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการเหนื่อยเล็กน้อย
ผู้ป่วยมีการติดเชื้อที่ปอด
ผลตรวจ Gram's stain
Specimen : sputum(suction)
Moderate Gram positive bacilli (small)
Few Gram positive cocci (chain)
Few Gram positive cocci (cluster)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากประสิทธิภาพในการทำงานของปอดลดลง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อย
ไม่มีเสียงเสมหะในลำคอ
ฟังปอดไม่พบเสียงผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย วัด vital signs ดู respiratory rate , oxygen saturation สังเกตเสียงเสมหะในลำคอขณะผู้ป่วยหายใจ และสังเหตอาการหอบเหนื่อยหายใจเร็ว
ดูแลทางเดินหายใจของผู้ป่วยให้โล่ง หมั่นสังเกตว่าผู้ป่วยมีเสียงเสมหะในลำคอหรือไม่ ถ้ามีเสมหะให้ผู้ป่วยขับออก เเต่ถ้าหากเสมหะเหนียวข้นจนไม่สามารถขับออกเองได้ ให้ดูดเสมหะ (suction) เพื่อไม่ให้เสมหะไปอุดกั้นทางเดินหายใจ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยอาจพร่องออกซิเจนได้
จัดท่าผู้ป่วยในท่า fowler's position เพื่อให้ปอดสามารถขยายตัวได้อย่างเต็มที่
ดูแลให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough) โดยจัดท่าผู้ป่วยในท่า fowler's position ก่อนไอ ให้ผู้ป่วยนับ 1 2 3 หายใจเข้าลึกๆ จากนั้นกลั้นหายใจประมาณ 2 วินาที เเละไอออกมาแรงๆ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ดังนี้
ยาสำหรับทางเดินหายใจ
DOXOFYLLINE 400 MG.TAB. ครั้งละ ครึ่ง เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
CARBOCYSTEINE 450 MG./5 ML.SYR 120 ML. ครั้งละ 10 CC วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น
SALMETEROL+FLUTICASONE (50+250) สูดเข้าปอด 1 ครั้ง วันละ 2 เวลา เช้า เย็น
ยาสำหรับรักษาการติดเชื้อที่ปอด
PIPERACILLIN+TAZOBACTAM (4+0.5) 4.5 g IV q 6 hr
ประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อย
ผู้ป่วยมีเสมหะลดลง ไม่มีเสียงเสมหะในลำคอ
ฟังปอดยังพบเสียง fine crepitation
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว
เนื่องจาก low cardiac output
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
ผล EKG พบว่า Cardiac arythmia
ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการเวียนศีรษะเล็กน้อย
ผู้ป่วยบอกว่าเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
ผู้ป่วยมี Underlying Disease เป็น Triple vessel disease : TVD
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลว เนื่องจาก low cardiac output
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีอาการเวียนศีรษะ
ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อยขณะออกแรง
ไม่มีอาการหอบเหนื่อยขณะนอนราบ
ไม่มีอาการบวมน้ำที่อวัยวะส่วนปลาย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย วัด vital signs ดู Blood pressure, Pulse , Respiratory rate , oxygen saturation เพื่อประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว และสังเกตอาการหอบเหนื่อย อาการวิง
เวียนศีรษะของผู้ป่วย
ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยใช้พลังงานมากเกินไป เพราะถ้าผู้ป่วยจะมีการใช้ออกซิเจนมากขึ้น ส่งผลให้หัวใจทำงานมากขึ้น แนะนำโดยให้นอนพักบนเตียง
จัดท่าผู้ป่วย fowler's position
ดูแลให้ยาตามการรักษาของแพทย์ โดยให้ยา WARFARIN 2 MG.TAB. ครั้งละ ครึ่ง เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ซึ่งเป็นยาต้านการเเข็งตัวของเลือด เพราะผู้ป่วยมีการเต้นของหัวใจห้องบนผิดจังหวะ อาจทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันที่หัวใจห้องบนได้
ประเมินผล
ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการระดับรุนเเรง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยรูปร่างผอม แขนขาลีบ
ผู้ป่วยน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ BMI 13.84 kg/m^2
ขยับยุบทั้งสองข้าง
คะแนน Nutrition Alert From (NAF) = 18
คือภาวะทุพโภชนาการรุนเเรง
ผู้ป่วยได้รับอาหารผ่าน NG tube
วัตถุประสงค์
เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมิน
มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ 18.5 - 25.0 kg/m^2
ขยับที่ยุบ มีความตื้นขึ้น
คะแนน Nutrition Alert From (NAF) = 0 - 5 คือ เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการน้อย
feed รับได้ ไม่มี content ค้าง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย ดูความซูบผอม น้ำหนักตัวลดลง โดยพิจารณาจากอายุ ความสูงและโครงสร้างร่างกาย อาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ปากแห้ง เป็นแผล เปลือกตาซีด
ประเมินปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิดภาวะทุพโภชนาการ โดยสังเกตการรับประทานอาหาร จำนวน ชนิด พลังงานจากอาหาร และโรคที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ ซึ่งผู้ป่วยรายนี้ได้รับอาหารผ่าน NG tube สูตรอาหาร 1.5:1 เพิ่มไข่ขาว 2 ฟอง/มื้อ จำกัดโปรตีน 60 กรัม/วัน ลดเค็ม ให้คอยสังเกตว่าผู้ป่วย feed รับได้หรือไม่ และสังเกตปริมาณ content ทุกครั้งที่จะ feed อาหาร
ติดตามน้ำหนักตัว ชั่งน้ำหนักสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง และติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Hb , Hct , Albumin และ Electrolyte imbalances
ประเมินผล
ผู้ป่วยยังมีรูปร่างผอม
ขยับทั้งสองข้างยังมีลักษณะยุบเหมือนเดิม
ผู้ป่วยสามารถ feed รับได้ ไม่มี content ค้าง
ค่า BMI 13.84 mg/m^2
ประเมิน NAF ได้ 17 คะเเนน
ผู้ป่วยมีแผลกดทับ
เนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีแผลกดทับที่บริเวณก้นกบ stage 1
ผู้ป่วยไม่สามารถพลิกตะเเคงตัวเองได้
ผู้ป่วยไม่สามารถทำความสะอาดหลังขับถ่ายเองได้
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ความรุนแรงของแผลเดิมเพิ่มขึ้น
และมีแผลกดทับใหม่
เกณฑ์การประเมิน
บริเวณแผลกดทับไม่มีการอักเสบบวมแดง
ผิวหนังบริเวณแผลกดทับสะอาด ไม่อับชื้น
ไม่มีแผลกดทับเพิ่ม ไม่มีรอยแดงบริเวณปุ่มกระดูกต่างๆ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินแผลกดทับ โดยจะประเมินตำแหน่ง ขนาด ความลึก ลักษณะของแผล สี Discharge
ดูแลแผลกดทับ ซึ่งแผลของผู้ป่วยอยู่บริเวณก้นกบ stage 1 ซึ่งเป็นบริเวณที่สามารถเปื้อนอุจจาระได้ง่าย ดังนั้นดูแลความสะอาดหลังขับถ่าย ควรเช็ดทำความสะอาดทันที โดยใช้สำลีชุบน้ำและเช็ดทำความสะอาดอย่างนุ่มนวล และซับให้แห้ง เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยนอนแช่อุจจาระเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นส่งให้ผิวหนังบริเวณนั้นเปื่อยยุ่ย ทำให้แผลหายช้า และอาจเกิดแผลใหม่ได้ง่าย
ดูแลจัดท่า โดยการพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง และในขณะพลิกตะแคงตัวไม่ควรลาก เพราะจะทำให้เกิดการเสียดสี แนะนำให้หาผู้ป่วยในการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยแต่ละครั้ง
ดูแลความชุ่มชื้นของผิวหนัง ใช้ผลิตภัณฑ์เพิ่มความชุ่มชื้นทาบริเวณผิวหนังให้กับผู้ป่วย เพราะถ้าผิวหนังขาดความชุ่มชื้นจะส่งให้เกิดแผลได้ง่าย
กระตุ้นการไหลเวียนเลือด เช่น การออกกำลังกายแบบ Passive exercise
ดูแลภาวะโภชนาการ ซึ่งผู้ป่วยรายนี้รับประทานอาหารทาง NG tube สูตรอาหาร 1.5:1 เพิ่มไข่ขาว 2 ฟอง/มื้อ จำกัดโปรตีน 60 กรัม/วัน ลดเค็ม ซึ่งการเพิ่มไข่ขาวจะทำให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารประเภทโปรตีนมากขึ้น เป็นการส่งเสริมการหายของแผล ทำให้แผลหายเร็ว
ประเมินผล
บริเวณแผลกดทับที่ก้นกบไม่มีการอักเสบบวมแดง
ผิวหนังบริเวณแผลกดทับสะอาด แห้ง ไม่มีความอับชื้น
ผู้ป่วยไม่มีแผลกดทับเพิ่ม ไม่มีรอยแดงบริเวณปุ่มกระดูกต่างๆ
5.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้
ผู้ป่วยต้องพึ่งพาผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
Fall score = 8
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
ผู้ป่วยไม่บาดแผลบนร่างกาย
ประเมินผล Fall score
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยอยู่เสมอ รับรู้สถานที่ บุคคล เวลา
มีอาการสับสนหรือไม่ เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย
ประเมินสิ่งแวดล้อมรอบเตียง
เช่น ตรวจสอบไม้กั้นเตียง ตำแหน่งผู้ป่วย
ท่าทางการนอนของผู้ป่วย
ดูแลให้ยกไม้กั้นเตียงขึ้นหลังทำหัตถการต่างๆหรือหลังพลิกตะเเคงตัวผู้ป่วย
ติดป้ายสัญญาลักษณ์ เพื่อนเเสดงว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด โดยติดบริเวณหัวเตียงหรือปลายเตียงของผู้ป่วย
ประเมินผล
ยาที่ใช้ในการรักษา
MYSOVEN 200 MG.GRANULE
ACETYLCYSTEINE 200 MG. GRANULE
1 ซอง ละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ 3 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
XANDASE 100 MG.TAB.
ALLOPURINAL 100 MG.TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
EURYTHMIC-20P MG.TAB.
AMIODARONE 200 MG.TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG.(GPO)
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
ก่อนอาหาร เช้า
MILK OF MAGMESIA 240 ML
MOM SUSP.240 ML.
รับประทานครั้งละ 30 ซีซี วันละ 3 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
PUROXAN 400.TAB.
DOXAFYLLINE 400 MG.TAB.
รับประทายครั้งละ ครึ่ง เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า เย็น
SIMVASTATIN 10 MG.TAB.(ZIMVA-GPO)
SIMVASTATIN 10 MG.TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
หลีกเลี่ยงการทาน Grapefriuit juice
FLUIFORT SYRUP 120 ML
CARBOCYSTEINE 450 MG./5 ML. SRY 120 ML.
รับประทานครั้งละ 10 ซีซี วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า เย็น
LORAZEP 0.5 MG.TAB.
LORAZEPAM 0.5 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
COLCHILY 0.6 TAB.
COLCHICINE 0.6 TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อมูลผู้ป่วย
ประวัติส่วนตัว
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 84 ปี
ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี
อาชีพ : ข้าราชการครูบำนาญ
รายได้ต่อเดือน : 30,000 บาท
อาการสำคัญ ( Chief complaints) : เหนื่อยมากขึ้น 4 ชั่วโมง PTA
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน ( Present Illness )
2-3 เดือน PTA เหนื่อยเพลียเล็กน้อย ยังสามารถทพกิจวัตรประจำวันได้ ไอมีเสมหะขาวเล็กน้อย รับประทานได้น้อยลง กลืนน้ำและอาหารลำบาก เคยส่องกล้อง Esophagogastroduodenuscopy (EGD) ประมาณ 1 เดือนที่แล้ว ผลพบว่า ปกติ
10 วัน PTA เหนื่อยเพลียมากขึ้น แต่ยังไปปั่นจักรยานได้ ไอเสมหะขาวขุ่น ไม่มีไข้ นอนราบได้ ไม่บวม เบื่ออาหาร รับประทานได้น้อยลง
4 ชั่วโมง PTA มีอาการเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม อาการหนักขึ้น มีไข้ ไอมีเสมหะขาวขุ่นมากขึ้น จึงมา รพ.
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต ( Past Illness )
โรคประจำตัว
1.โรคความดันโลหิตสูง ( Hypertension )
2.โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 3 เส้น ( Triple vessel disease )
3.โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ( Chronis kidney disease )
4.โรคเกาต์ ( Gout )
5.โรคหลอดลมโป่งพอง ( Bronchiectesis )
6.โรคต้อหิน ( Glaucoma )
ประวัติการผ่าตัด : ผ่าตัด Glaucoma ตาขวา เมื่อ พ.ศ. 2559
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : มารดาเป็น Diabetes Mellitus
ไม่มีประวัติการแพ้
อาการปัจจุบัน
( General Appearance )
7/2/64
ผู้ป่วยชายไทย วัยสูงอายุ รูปร่างผอม รู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตัวเองได้บนเตียง on canular 3 LPM วัด oxygen saturation ได้ 98 % ผิวขาวเหลือง ศีรษะบริเวณขมับยุบทั้งสองข้าง ผมสีดำโคนผมสีขาว การกระจายตัวของผมไม่สม่ำเสมอ บริเวณกลางศีรษะผมบางกว่าบริเวณอื่น คิ้วดำปนขาวเล็กน้อยกระจายตัวไม่สม่ำเสมอ เบ้าตาลึก ตาขวาเป็นต้อหิน on NG tube สูตรอาหาร 1.5:1 เพิ่มไข่ขาว 2 ฟอง/มื้อ จำกัดโปรตีน 60 กรัม/วัน ลดเค็ม feed รับได้ on IV ที่แขนขวา Tazocin 4.5 GM.INJ on condom ปัสสาวะสีเหลืองออกเข้ม อุจจาระเหลว สีเหลืองเข้มออกเขียว
8/2/64
ผู้ป่วยชายไทย วัยสูงอายุ รูปร่างผอม ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตัวเองได้บนเตียง หายใจ room air วัด oxygen saturation ได้ 96 % ผิวขาวเหลือง ศีรษะบริเวณขมับยุบทั้งสองข้าง ผมสีดำโคนผมสีขาว การกระจายตัวของผมไม่สม่ำเสมอ คิ้วดำปนขาว เบ้าตาลึก ตาขวาเป็นต้อหิน on NG tube สูตรอาหาร 1.5:1 เพิ่มไข่ขาว 2 ฟอง/มื้อ จำกัดโปรตีน 60 กรัม/วัน ลดเค็ม feed รับได้ ไม่มี content ค้าง on injection plug ที่แขนขวา on condom ปัสสาวะสีเหลืองออกเข้ม ยังไม่มีการถ่ายอุจจาระ
9/2/64
ผู้ป่วยชายไทย วัยสูงอายุ รูปร่างผอม ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตัวเองได้บนเตียง หายใจ room air วัด oxygen saturation ได้ 98% ผิวขาวเหลือง ศีรษะบริเวณขมับยุบทั้งสองข้าง ผมสีดำโคนผมสีขาว การกระจายตัวของผมไม่สม่ำเสมอ คิ้วดำปนขาว เบ้าตาลึก ตาขวาเป็นต้อหิน เดิม on NG tube เเต่ผู้ป่วยดึงออก โดยให้เหตุผลว่าใส่เเล้วเจ็บคอคล้ายมีโดนบาด ไม่ต้องการใส่อีก และวันนี้ได้ให้ผู้ป่วยรับประทานยาทางปากโดยใช้หลอดดูด ผู้ป่วยสามารถกลืนได้ เเต่มีอาการไอเล็กน้อย จากนั้นได้ทำการพูดคุยกับผู้ป่วยเกี่ยวกับการใส่สาย NG tube โดยให้ญาติช่วยพูดคุยเเละพยาบาลแจ้งเหตุผล ความจำเป็นในการใส่ เเละสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ป่วย หลังจากใส่ NG tube ทำการ feed อาหาร สูตร 1.5:1 เพิ่มไข่ขาว 2 ฟอง/มื้อ จำกัดโปรตีน 60 กรัม/วัน ลดเค็ม feed รับได้ ไม่มี content ค้าง และบ่ายวันนี้ นักกายภาพบำบัดได้มาทำการออกกำลังกายผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยมีอาการหอบเหนื่อย หน้ามืด วัด oxygen saturation ได้ 88 % ทำการ on oxygen canular 3 LPM วัด sat ได้ 94 % on injection plug ที่แขนขวา on condom ปัสสาวะสีเหลืองออกเข้ม อุจจาระเหลวสีเหลืองปนเขียว
10/2/64
ระบบ
Problem list
ผู้ป่วยน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ BMI 13.84 kg/m^2
เคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยลง
ผู้ป่วยมีเสียงเสมหะในลำคอ
INR Prolong
29/1/64 = 5.32
7/2/64 = 2.48
ค่าปกติ 0.88-1.11
ผิวแห้งขาดความชุ่มชื้น
ฟังปอดพบเสียง fine crepitation ที่ปอดซ้าย
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ญาติมีความวิตกกังวล
ปัสสาวะออกน้อย
ผู้ป่วยเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะ
ผล EKG ได้ผล cardiac arythmia
ผู้ป่วยผอม
ผู้ป่วยบ่นอยากกลับบ้าน