Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเพื่อตอบสนอง ความต้องการด้านการหายใจ, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ …
การพยาบาลเพื่อตอบสนอง ความต้องการด้านการหายใจ
1.Upper lobes
Apical Segments
-จัดท่าให้นั่งพิงหมอนเอียงประมาณ 30 องศา
เคาะบริเวณหัวไหล่ระหว่างกระดูกต้นคอ และกระดูกสะบัก
Posterior segments
-จัดท่าให้นั่งค้อมตัวไปข้างหน้าประมาณ 30องศาโดยใช้หมอนรองสอดไว้บริเวณท้องให้ผู้ป่วยกอดไว้ เคาะบริเวณหลังส่วนบนทั้ง 2ข้าง
Anterior segments
-จัดท่าให้นอนหงายราบ ใช้หมอนสอดใต้เข่า ให้อยู่ในท่าสบาย เคาะบริเวณหน้าอกด้านหน้า ช่วงบน ทั้ง 2ข้าง
Left lingular segment และ right middle lobe
1.lingular segmentของleft upper lobe
-จัดเตียงให้ปลายสูง 15องศา ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับด้านขวา เอนไปด้านหลัง 1/4ใช้หมอนรองหลังบริเวณหัวไหล่ถึงสะโพก
-เคาะบริเวณราวนมด้านซ้าย
2.Right middle lobe
-จัดเตียงให้ปลายสูง 15องศา ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับด้านซ้าย
เอนไปด้านหลัง 1/4ใช้หมอนรองบริเวณหัวไหล่ถึงสะโพก
-เคาะบริเวณราวนมด้านขวา
3.Lower lobes
1.Superior segments
-นอนคว่ำใช้หมอน 2ใบรองบริเวณสะโพก
-เคาะบริเวณกลางหลังตรง tip of scapulaทั้ง 2ข้าง
2.anterior basal segments จัดปลายเตียงสูง 30องศา
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคง ศีรษะต่ำ หมอนหนุนบริเวณเข่า
2.1 leftlungนอนตะแคงทับด้านขวา เอาหน้าอกซ้ายขึ้น
เคาะหน้าอกซ้ายบริเวณซี่โครงด้านล่าง
2.2 rightlungนอนตะแคงทับด้านซ้ายเอาหน้าอกขวาขึ้น
เคาะหน้าอกขวาบริเวณซี่โครงด้านล่าง
3.lateral basal segments จัดปลายเตียงสูง 30องศา ให้นอนคว่ำ ศีรษะต่ำ ตะแคงตัวขึ้น 1/4หมอนหนุนบริเวณเข่า ขางอเล็กน้อย
3.1 leftlungตะแคงด้านซ้ายขึ้น 1/4เคาะบริเวณชายโครงด้านล่างทางด้านข้าง
3.2 rightlungตะแคงหน้าอกขวาขึ้น1/4เคาะบริเวณชายโครงด้านล่างทางด้านข้าง
4.posterior basal segments
-จัดปลายเตียงสูง 30องศา ให้นอนคว่ำ ศีรษะต่ำ หมอนรองบริเวณสะโพก
-เคาะบริเวณซี่โครงด้านล่างทั้ง 2ข้าง
ภาวะแทรกซ้อน Complications จากการจัดท่า
เพิ่มความดันในช่องกะโหลกศีรษะ
ทำให้มีอาการหายใจลำบากมากขึ้น จากความดันในช่องท้อง โดยเฉพาะผู้ที่มีภาวะท้องอืด มีน้ำในช่องท้อง และ phrenic nerve palsy
เพิ่มการเกิด gastroesophageal reflux
การเคาะ (Percussion)
ใช้อุ้งมือ โดยทำมือให้เป็นลักษณะ cupped hand
เคาะโดยการสะบัดบริเวณข้อมือ
ควรมีผ้ารองบริเวณที่เคาะ
ควรเคาะตำแหน่ง1-5นาที เวลารวมทั้งหมดในการจัดท่า และเคาะ ไม่ควรเกิน 30นาที ในแต่ละครั้ง
อาจใช้ mechanical percussionแทนได้
ภาวะแทรกซ้อน Complications จากการเคาะปอด
รอยช้ำหรือ จุดเลือดออกใต้ผิวหนังในผู้ที่มีภาวะแข็งตัว
ของเลือด ผิดปกติ
ซี่โครงหัก ในรายที่มีปัญหาภาวะกระดูกพรุน
การหดเกร็งของหลอดลม
เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
เจ็บ ในผู้ป่วยที่มีบาดแผลบริเวณทรวงอก
การสั่นสะเทือน (Vibration)
วางมือกดบนผนังทรวงอก เหยียดแขนตรง เกร็งกล้ามเนื้อ บริเวณแขนและหัวไหล่ ให้เกิดการสั่นบริเวณมือ
ควรทำในช่วงหายใจออก หลังหายใจเข้าลึกๆ
นิยมใช้ในเด็กเล็ก และผู้ที่มีกระดูกบาง
อาจใช้เครื่อง vibratorต่างๆ
ความถี่ที่เหมาะสมคือ 15-20 Hertz
ภาวะแทรกซ้อน Complications จากการสั่นสะเทือน
รอยช้ำ หรือจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง(petechiae)ในผู้ป่วย
ที่มีความผิดปกติ ของการแข็งตัวของเลือด
active pulmonary hemorhage
ซี่โครงหัก ในผู้ที่มีปัญหาภาวะกระดูกพรุน osteoporosis
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 4