Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 19 Dx.CAD (Coronary atery disease)
โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ…
เตียง 19 Dx.CAD (Coronary atery disease)
โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ เป็นโรคที่เกิดจากการอุดกั้นของหลอดเลือดโคโรนารี ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ข้อมูลผู้ป่วย
-
-
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคเบาหวาน (diabetes mellitus), ความดันโลหิตสูง (Hypertension), เก๊า (gout) โรคไต (kidney disease) โรคหลอดเลือดสมอง
-
-
พยาธิสภาพของโรค
โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบอเทอโรสเคลอโรซีสหรือภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง เป็นความผิดปกติของผนังหลอดเลือดแดง กระบวนการเกิดอเทอโรสเคลอโรซีสของหลอดเลือด จะเกิดที่ผนังชั้นในหรือชั้นอินทิมา (Intima) ของหลอดเลือดก่อน โดยการสะสมของคราบไขมัน ที่ใช้เวลาเป็นปีๆ แล้วจะค่อยๆพอกพูนขึ้น จนทำให้โพรงหลอดเลือดเกิดการตีบแคบและเกิดการอุดตัน การเกิดอเทอโรสเคลอโรซีสไม่ทำให้เกิดอาการใดๆ แต่เมื่อใดที่หลอดเลือดเกิดการตีบแคบจนทำให้การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอกับความต้องการ
โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) เป็นโรคที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ซึ่งเป็นผลจากที่ ร่างกายสร้างฮอร์โมนอินซูลินลดลง หรือ ร่างกายตอบสนองต่อฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลินลดลง ฮอร์โมนอินซูลิน นอกจากจะมีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดแล้วยังมีผลต่อ การเผาผลาญไขมันในร่างกายด้วย โดยมีฤทธิ์ยับยั้งการ สลายไขมันในร่างกาย
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
เคมีคลินิก
-Creatinine 1.41 ค่าปกติ 0.73-1.18 mg/dL มี Creatinine phosphate คั่งค้างในเลือดสูง แสดงถึงไตมีประสิทธิภาพในการกำจัด Creatinine phosphate ลดลง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
1.เสี่ยงต่อภาวะเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่ออวัยวะส่วนปลายลดลงเนื่องจากปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.จัดให้ได้พักผ่อนบนเตียงอย่างสมบูรณ์ (Absolute bed rest) ในท่าที่สุขสบาย เพื่อลดภาระงานของหัวใจ ลดการบีบตัวของหัวใจ
2.จัดท่านอนให้ศรีษะสูง 30-60 องศา เพื่อลดปริมาตรเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
3.วัดสัญญาณชีพ คือ อุณหภูมิ อัตราการเต้นของหัวใจ การหายใจ ความดันโลหิต และ O2 Sat เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ 4.ฟังเสียงหัวใจทุก 2-4 ชั่วโมงสังเกตเสียงหัวใจที่ผิดปกติ เช่นเสียงหัวใจที่เบาลง เสียงฟู่ เพราะเสียงหัวใจบ่งบอกความแรงของการบีบตัวของหัวใจ 5.ให้ยาตามแนวทางการรักษาและประเมินผลของยยา เช่น
ยาขยายหลอดเลือด MONOSORB 20 MG. TAB. รับประทานครั้งละครึ่งเม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เย็น เพื่อลดภาระด้านหน้าและเพิ่มเลือดมาเลี้ยงหัวใจมากขึ้น
6.จัดให้รับประทานอาหารทีละน้อยและพักหลังรับประทานอาหาร เพราะการรับประทานอาหารมาก ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น
7.จัดให้ญาติเยี่ยมในชั่วโมงเยี่ยมหรือในขณะที่ผู้ป่วยตื่น เพื่อผู้ป่วยจะได้พักผ่อนได้อย่างเพียงพอ
-
-
-