Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 18 Dx.Hyponatremia with ESRD (End stage renal disease) - Coggle…
เตียง 18
Dx.Hyponatremia with ESRD
(End stage renal disease)
ข้อมูลผู้ป่วย (Patient informations)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
(Present illness)
▶️ 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มเบื่ออาหาร กินได้น้อย 2-3 คำ จากเดิม 1 จาน จากนั้นอ่อนเพลียลงเรื่อยๆ น้ำหนักตัวลดลจาก 54 กิโลกรัม เหลือ 51 กิโลกรัม ภายใน 1 เดือน
▶️ 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล วูบล้ม หัวไม่กระแทก ไม่มีหมดสติ บาดเจ็บที่แขนข้างซ้าย
▶️ 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล อ่อนเพลีย
เดินแล้วล้ม
อาการสำคัญ
(Chief complaint)
อ่อนเพลีย เดินแล้วล้ม 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
(Past illness)
▶️ Hypertension (ความดันโลหิตสูง)
▶️ Diabetes Mellitus (โรคเบาหวาน)
▶️ Benign Prostatic Hyperplasia (โรคต่อมลูกหมากโต)
▶️ Atrial fibrillation (โรคหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว)
▶️ End stage renal disease: ESRD (ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
▶️ Old Cerebrovascular accident (CVA) at Right frontal lobe (โรคหลอดเลือดในสมอง) เป็นปี 2560
▶️ Arteriovenous fistula (AVF) at Left cubital (การผ่าตัดทำเส้นเลือดล้างไต) วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ปัจจุบันใส่ Permanent catheter
สุขภาพทั่วไป
(General appearance)
▶️ 31 มกราคม 2564
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 83 ปี รู้สึกตัวดี รูปร่างผอม ผิวขาว ไม่มีฟัน On cannula 3 LPM On permanent catheter (สายสวนหลอดเลือดระยะยาว) at Right jugular vein
มี ecchymosis (จ้ำเลือด) ที่มือและแขนด้านซ้าย On condom ปัสสาวะไม่ออก On injection plug ที่เท้าด้านซ้าย
▶️ 1 กุมภาพันธ์ 2654
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 83 ปี รู้สึกตัวดี รูปร่างผอม ผิวขาว ไม่มีฟัน On O2 cannula 3 LPM On permanent catheter (สายสวนหลอดเลือดระยะยาว) at Right jugular vein
มี ecchymosis (จ้ำเลือด) ที่มือและแขนด้านซ้าย On injection plug ที่เท้าด้านซ้าย
▶️ 2 กุมภาพันธ์ 2564
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 83 ปี รู้สึกตัวดี รูปร่างผอม ผิวขาว ไม่มีฟัน หายใจ room air On permanent catheter (สายสวนหลอดเลือดระยะยาว) at Right jugular vein
มี ecchymosis (จ้ำเลือด) ที่มือและแขนด้านซ้าย ปัสสาวะไม่ออก On injection plug ที่เท้าด้านซ้าย
ประวัตการแพ้ยา
(Drug Allergies)
▶️ Doxazocin (รักษาภาวะความดันโลหิตสูง รักษาอาการปัสสาวะขัดจากภาวะต่อมลูกหมากโต)
▶️ Saxagliptin (รักษาระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2)
ประวัติส่วนตัว
(Personal history)
▶️ Tobacco smoking 2 pack for 60 years (เลิกบุหรี่มา 3 ปี)
▶️ Alcohol drinking (เลิกดื่มแอลกอฮอล์มา 3 ปี)
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
MAPENEM 1 GM. INJ.
MEROPENEM 1 GM. INJ.
500 mg IV q 24 Hrs. (วัน HD ให้หลัง HD)
ข้อบ่งชี้
เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่ม Carbapenem มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย ป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องผูก อาการปวด บวม แดงบริเวณที่ฉีดยา
KEPPRA 500 MG. TAB.
LEVETIRACETAM 500 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งใช้
เป็นยากันชัก
ผลข้างเคียง
ท้องเสีย เวียนศีรษะ ง่วงนอน คัดจมูก ระคายเคืองคอและจมูก รู้สึกเหนื่อยอ่อนเพลีย
FERMASIAN 200 MG. TAB.
FERROUS FUMARATE 200 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า หลัง
: ทานยาห่างจากแคลเซียม นม ยาลดกรด อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
ข้อบ่งใช้
ป้องกันภาวะเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดเกร็ยงท้อง ท้องผูกท้องเสีย
FOLIC ACID 5 MG. TAB.(GPO)
FOLIC ACID 5 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหารเช้า
ข้อบ่งใช้
เสริมสร้างกระบบวนการเจริญเติบโตของร่างกาย ป้องกันและรักษาอาการเจ็บป่วยจากการขาดกรดโฟลิค
ผลข้างเคียง
เวียนศีรษะ ไม่อยากอาหาร เรอ ท้องอืด
B CO-ED TAB.
VITAMIN B COMPLEX TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งใช้
ใช้ป้องกันการขาดและรักษาระดับวิตามินบีในร่างกาย
ผลข้างเคียง
อาจมีอาการปวดท้อง ท้องเสีย รู้สึกวูบวาบเล็กน้อยขึ้นอยู่กับสูตรและปริมาณของส่วนผสมที่ออกฤทธิ์
XARATOR 10 MG. TAB.
ATORVASTATIN 10 MG. TAB.
รับประทานครั้งละครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง
ก่อนนอน
: หลีกเลี่ยงการทาน Grapefruit Juice
ข้อบ่งใช้
กลุ่มยา Statin มีคุณสมบัติในการลดระดับคอเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์ในเลือดในขณะเดียวกันก็ชาวยในการเพิ่มปริมาณคอเลสเตอรอลชนิดที่ดีในร่างกาย (HDL)
PATBLU 500 MG. TAB.
PARACETAMOL 500 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด ทุก 6 ชั่วโมง เวลาปวดหรือมีไข้
ข้อบ่งใช้
ใช้บรรเทาอาการปวดทั่วไป
ผลข้างเคียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้
UNIMA ENEMA
SOD. BIPHOSPHATE + SOD. PHOSPHATE SOL.
7/19 GM 118 ML IN 133 ML BOTTLE
ใช้สวนทวารหนักเวลาท้องผูก ถ้าไม่ถ่าย 3 วัน
ข้อบ่งใช้
ใช้บีบสวนเข้าในทวารหนักแก้อาการท้องผูก
ผลข้างเคียง
อาจทำให้ปวดท้อง ท้องเดิน
MULTIVITAMIN TAB.(GPO)
MULTIVITAMIN TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งใช้
ใช้เมื่อได้รับ Vitamin หรือแร่ธาตุไม่เพียงพอ ใช้รักษาภาวะการขาดน้ำเนื่องจากการป่วย
ผลข้างเคียง
อาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ท้องร่วง
CYPROHEPTADINE (POLYTAB) 4 MG. TAB
CYPROHEPTADINE 4 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งใช้
รักษาอาการแพ้หรือโรคภูมิแพ้
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นกลุ่มยาที่อยู่ในกลุ่มยาต้าน Antihistamine
ผลข้างเคียง
เวียนศีรษะ ง่วงซึม ปากแห้ง คอแห้ง ท้องผูก
DUODART 0.5/0.4 MG. CAP.
DUTASTERIDE + TAMSULOSIN HCL (0.5+0.4 MG.) CAP.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้
รักษาโรคต่อมลูกหมากชนิดไม่ร้ายแรง ช่วยบรรเทาอาการ ลดขนาดของต่อมลูกหมาก เพิ่มอัตราการไหลของปัสสาวะ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของ 5-alpha-reductasm-isoenzyme ทั้งชนิดที่ 1 และ 2 ทำหน้าที่ในการเปลี่ยน testosterone เป็น 5-alpha-DHT (DHT เป็นสาเหตุที่ทำให้เนื้อเยื่อของต่อมลูกหมากเพิ่มขึ้นผิดปกติ
FEMIDE 500 MG. TAB.
FUROSEMIDE 500 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหารเช้า
ข้อบ่งใช้
เป็นยาขับปัสสาวะ ช่วยขับของเหลวส่วนเกินในร่างกายออกมาทางปัสสาวะ ช่วยป้องกันร่างกายไม่ให้ดูดซึมเกลือหรือโซเดียมมากจนเกินไป ลดอาการบวมน้ำ และลดความดันโลหิต
ผลข้างเคียง
มีผื่นลมพิษ เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย หนาวสั่น
CALCIFEROL CAP.
VITAMIN D2 20,000 IU CAP.
รับประทาน 2 เม็ด/สัปดาห์ ทุกวันอาทิตย์
ข้อบ่งใช้
เป็นวิตามินที่ละลายได้ดีในไขมัน ช่วยดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส ช่วยให้กระดูกแข็งแรงและช่วยลด Parathyroid hormone ป้องกันการสูญเสียแคลเซียมจากกระดูก เพิ่มการหลั่งอินซูลิน ช่วยปรับสมดุลน้ำตาลในเลือดและป้องกันโรคเบาหวาน
NEOAMIYU 200 ML.INJ
AMINO ACID SOL. 200 ML.INJ.
200 ml intra HD IV 2/week
ข้อบ่งใช้
เสริมกรดอะมิโนในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตล้มเหลว ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ รักษาแผล
ผลข้างเคียง
เมื่อยล้า การสูญเสียการประสานงาน
ESPOGEN 4,000 IU/0.4 ML.INJ (1 S) EPOETIN ALFA 4000 IU.INJ.0.4 ML 4000 unit IV postHD 2/week
ข้อบ่งใช้
สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง รักษาโลหิตจาง
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ เวียนศรี ปวดข้อ บวมส่วนล่าง
OFARIN WARFARIN 3 MG. TAB.
WARFARIN 3 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ ครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ลดการอุดตันของลิ่มเลือด
ผลข้างเคียง
มึนงง ชา ลิ้นแข็ง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด
พยาธิสรีรวิทยา
Hypertension (ความดันโลหิตสูง)
ภาะวที่ความดันช่วงบนมีค่าตั้งแต่ 130 mmHg ขึ้นไป หรือ ความดันช่วงล่างมีค่าตั้งแต่ 80 mmHg ขึ้นไป ซึ่งโดยมากผู้ป่วยจะมีความดันช่วงล่างสูง (Diastolic hypertension) โดยที่ความดันช่วงบนจะสูงหรือไม่ก็ได้ แต่บางรายอาจมีความดันช่วงบนสูงเพียงอย่างเดียว เรียกว่า “ความดันช่วงบนสูง เดี่ยว” (Isolated systolic hypertension: ISHT)
Diabetes Mellitus (โรคเบาหวาน)
▶️ เกิดจากการที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในการเผาผลาญสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน เนื่องจากความไม่สมดุลของการใช้กับการสร้างอินซูลินร่างกาย
▶️ อินซูลินจะมีหน่วยที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน การพร่องอินซูลินพบสาเหตุจากการติดเชื้อ กรรมพันธุ์ กระบวนการเผาผลาญ และไอสเลทบีต้าเซลล์ถูกทำลายหรือสร้างอินซูลินไม่ได้
▶️จะทำให้กลูโคสในกระแสเลือดผ่านเข้าสู่เซลล์ได้ช้า ในขณะเดียวกันจะมีการสร้างกลูโคสจากไกลโคเจนที่ตับและมีการดูดซึมเพิ่มจากอาหารที่รับประทานเข้าไปทำให้เกิดภาวะ Hyperglycemia
▶️ ทำให้ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย (Polyuria) พร้อมกับสูญเสียเกลือแร่บางชนิด โดยเฉพาะโซเดียม ร่างกายจึงขาดทั้งอาหาร น้ำ เกลือแร่ จึงมีอาการหิวบ่อย กินจุ กระหายน้ำ และน้ำหนักลด ผอมลง บางรายอ่อนเพลีย ขึ้นอยู่กับการสูญเสียเกลือแร่ น้ำและน้ำตาล
Benign Prostatic Hyperplasia (โรคต่อมลูกหมากโต)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน Dihydrotestosterone : DHT โดยฮอร์โมนจะกระตุ้นการเจริญเติบโต ทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนเซลล์ต่อมลูกหมากอย่างผิดปกติจนเกิดเป็นก้อน (fibroadematous nodule) ก้อนนี้จะไปเบียดเนื้อเยื่อของต่อมลูกหมากเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะและเบียดท่อปัสสาวะทำให้ท่อปัสสาวะส่วนต่อมลูกหมากแคบลง ทางเดินปัสสาวะอัดตันทำให้การขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
Chronic kidney disease: CKD (โรคไตเรื้อรัง)
เกิดจากการเสื่อมของไตและการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลทำให้อัตราการกรองและการขับถ่ายของเสียลดลง ปริมาณ Cretinine และ Urea Nitrogen ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลืออยู่จะเจริญมากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น ทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นปัสสาวะ
สาเหตุ
เบาหวาน (Diabetes Mellitus)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
โรคไตขาดเลือด
โรคนิ่วในไต
การแบ่งระยะ
ระยะที่ 1 ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยมากกว่า
90 ml/min/1.73 m^2 หมายถึงการมีความผิดปกติของไต แต่ค่าอัตราการกรองของไตอยู่ในเกณฑ์ปกติหรืออาจสูงขึ้น
ระยะที่ 2 ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่ในช่วง 60 - 89 ml/min/1.73 m^2 หมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงเล็กน้อย
ระยะที่ 3a ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่ในช่วง 45 - 59 ml/min/1.73 m^2 หมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงปานกลาง
ระยะที่ 3b ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่ในช่วง
30 - 44 ml/min/1.73 m^2 หมายถึงการมีความผิดปกติของไต และค่าอัตราการกรองของไตลดลงปานกลางถึงรุนแรง ซึ่งระยะนี้ต้องมีการเฝ้าระวังและให้การรักษาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ระยะที่ 4 ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่ในช่วง 15 - 29 ml/min/1.73 m^2 หมายถึงการมีความผิดปกติของไตและค่าอัตราการกรองของไตลดลงอย่างมาก
ระยะที่ 5 ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยต่ำกว่า 15 ml/min/1.73 m^2 ถือว่าเป็นระยะไตวาย ทำให้มีความผิดปกติเกือบทุกระบบของร่างกาย ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการบำบัด
Atrial fibrillation (โรคหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว)
เป็น Supraventricular tachyarrhythmia ที่มีการกระตุ้นของหัวใจห้องบนแบบกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ ซึ่งเป็นผลให้การบีบตัวของหัวใจห้องบนเสียไป โดยมีลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจมี
รูปร่าง P wave หลายรูปแบบ มีความถี่เกินกว่า 350 ครั้ง/นาที และไม่สม่ำเสมอ
โดยมีกลไลการเกิด 3 รูปแบบ
1.มีจุดกำเนิดไฟฟ้าผิดปกติ เหตุจากภายในหัวใจ เช่น ความดันในห้องหัวใจที่เพิ่มขึ้นหรือจากภายนอก เช่น Thyroid hormone
2.มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการนำไฟฟ้าเกิดเป็นวงจรหมุนวน
3.ผู้ป่วยอาจมีกลไกทั้งสองแบบร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
หัวใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
มีอาการเหนื่อยจากการทำกิจกรรม
Hyponatremia (ภาวะ Na ต่ำ)
ภาวะที่มี Plasma sodium น้อยกว่า 135 mEq/L เนื่องจาก Na เป็นไอออนที่สำคัญที่ทำให้เกิด Plasma osmolarity มักเกิดจากไตไม่สามรถขับน้ำส่วนเกินออกจากร่างกายได้
เมื่อเกิด hyponatremia น้ำภายนอกเซลล์จะกระจายเข้าไปในเซลล์ต่างๆ จนกระทั่ง osmolarity ของน้ำนอกเซลล์และในเซลล์เท่ากัน ดังนั้นเซลล์จะบวมขึ้นโดยเฉพาะเซลล์สมอง อาการและอาการแสดงจึงเป็นผลจากการบวมของเซลล์สมอง อาการนอกจากจะขึ้นอยู่กับระดับของโซเดียมว่าต่ำมากน้อยแค่ไหนแล้ว ยังขึ้นกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของระดับโซเดียมด้วย ถ้าการเปลี่ยนแปลงของระดับโซเดียมเกิดค่อยเป็นค่อยไป ก็จะลดความรุนแรงของการบวมของเซลล์สมองลงได้
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน
สับสน
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเป็นตะคริว
หมดสติ
Congestive Heart Failure: CHF (ภาวะหัวใจล้มเหลว)
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ ส่งผลให้อวัยวะขาดออกซิเจน เมื่อหัวใจมีความพร่องในการสูบฉีดเลือดจะส่งผลให้เกิดภาวะคั่งของเลือดหรือน้ำในห้องหัวใจ และเกิดการล้นกลับไปที่ปอดหรือเกิดภาวะที่เรียกว่าน้ำท่วมปอด
อาการและอาการแสดง
*ภาวะหัวใจซีกซ้ายวาย
เกิดจากความบกพร่องของหัวใจห้องล่างซ้าย* ทำให้ cardiac output ลดลง เลือดจึงไปเลี้ยงส่วนต่างๆในร่างกายลดลง ทำให้เกิดเลือดคั่งในหัวใจห้องล่างซ้ายมากขึ้น ส่งผลให้หัวใจห้องบนซ้ายบีบเลือดลงมาห้องล่างซ้ายลดลง ปริมาณเลือดและความดันเลือดห้องบนซ้ายสูงขึ้น ทำให้เลือดจากปอดที่เข้าหัวใจห้องบนซ้ายเข้าสู่หัวใจไม่ได้ จึงเกิดการคั่งของเลือดในปอด (Pulmonary congestion)
เลือดย้อนกลับไปในหัวใจห้องบนซ้ายและปอด
มีอาการเหนื่อย (Dyspnea)
เหนื่อยเมื่อออกแรง (Dyspnea on exertion)
นอนราบไม่ได้ (Orthopnea)
เหนื่อยขณะนอนหลับ (Paroxysmal nocturnal Dyspnea : PND)
หายใจเร็ว (Tachypnea)
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ภาวะหัวใจซีกขวาวาย
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว เป็นต่อเนื่องมาจากการมีแรงดันหลอดเลือดในปอดสูงรวมทั้งแรงดันในหลอดเลือด pulmonary artery จากการที่มีภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว ทำให้หัวใจห้องล่างขวาพยายามบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปฟอกเลือด เมื่อทำงานหนักเข้าหัวใจถึงอ่อนล้า และเกิดการล้มเหลวในการทำงาน ทำทำให้มีเลือดคั่งในห้องล่างขวา เลือดจากหัวใจห้องบนขวาไม่สามารถลดลงสู่ห้องห้องล่างขวาได้เป็นผลให้เลือดจากตามส่วนต่างๆ ของร่างกายที่มาตาม superior vana cava และ inferior vana cava ไม่สามารถเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาได้ จึงคั่งอยู่ตามหลอดเลือดดำตามร่างกาย เมื่อแรงดันในหลอดเลือดดำสูงขึ้นจะดันน้ำให้ซึมออกจากหลอดเลือดฝอยสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ จึงเกิดการบวมตามร่างกาย
หลอดเลือดดำโป่งพอง (Jugulat vein distention) จากแรงดันกลับไปของเส้น Superior venacava เส้นเลือดจากหัว อก แขน กลับเข้าหัวใจ
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
ตับโต (Hepatomegaly)
เลือดคั่งในตับ (Hepatic congestion)
มีน้ำในช่องท้อง (Ascities)
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(Laboratory)
จุลทรรศนศาสตร์คลินิก
28 มกราคม 2564
▶️
Blood
3+ (ค่าปกติ Negative)
▶️
Glucose(UA)
1+ (ค่าปกติ Negative)
▶️
Albumin(UA)
4+ (ค่าปกติ Negative)
▶️
Leukocyte
2+ (ค่าปกติ Negative)
▶️
R.B.C.(UA)
5-10/HPF (ค่าปกติ 0-5/HPF)
▶️
W.B.C.(UA)
20-30/HPF (ค่าปกติ 0-5/HPF)
▶️
Bacteria
Few (ค่าปกติ Not found)
ภูมิคุ้มกันวิทยา
28 มกราคม 2564
▶️
Troponin - T
0.075 ng/mL (ค่าปกติ 0-0.014 ng/mL)
จุลชีวิทยา
27 มกราคม 2564
▶️
PH
7.537 (ค่าปกติ 7.350 - 7.450)
▶️
pCO2
31.7 mmHg (ค่าปกติ 32.0 - 46.0 mmHg)
▶️
pO2
187.2 mmHg (ค่าปกติ 74.0 - 108.0 mmHg)
▶️
HCO3 std
27.7 mmol/L (ค่าปกติ 1.0 - 1.3 mmol/L)
▶️
BE (B)
3.3 mmol/L (ค่าปกติ < 2.0 mmol/)
▶️
O2 sat
99.5% (ค่าปกติ 92.0 - 96.0 %)
เคมีคลินิก
1 กุมภาพันธ์ 2564
▶️
BUN
59.6 mg/dL (ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL)
สูงกว่าปกติ
อาจบอกได้ว่าไตกำลังเสียหายทำหน้าที่ไม่ได้ แสดงผลได้ว่าอาจเกิดจากการขาดน้ำ ไตผิดปกติขับ Urea Nitrogen ออกทางปัสสาวะไม่หมด และอาจเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลว
▶️
Creatinine
5.19 mg/dL (ค่าปกติ 0.73 - 1.18 mg/dL)
สูงกว่าปกติ
อาจเกิดจากไตเสียหาย ท่อปัสสาวะถูกปิดกั้น ขาดน้ำ แล้วโรคหัวใจวาย จากการที่ปริมาตรเลือดออกจากหัวใจน้อย ทำให้ไตได้รับเลือดที่ผ่านมาให้ไตกรองน้อย
▶️
Albumin
2.6 g/dL (ค่าปกติ 3.5 - 5.2 g/dL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดจากการขาดสารอาหารจำพวกโปรตีน อาจเกิดจากโรคไตรั่วจึงทำให้ปล่อยโปรตีนทิ้งไปกับปัสสาวะ ไม่สามารถกรองกลับเข้าสู่ร่างกาย และอาจเกิดจากภาวะหัวใจวายปั๊มเลือดออกมาน้อยทำให้ตับได้เลือดไม่พอ
▶️
Phosphorus
1.6 mg/dL (ค่าปกติ 2.3 - 4.7 mg/dL)
▶️
Magnesium
2.99 mg/dL (ค่าปกติ 1.6 - 2.6 mg/dL)
▶️
Sodium
133 mmol/L (ค่าปกติ 136 - 145 mmol/L)
▶️
Chloride
95.5 mmol/L (ค่าปกติ 98 - 107 mmol/L)
28 มกราคม 2564
▶️
BUN
36.4 mg/dL (ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL)
สูงกว่าปกติ
อาจบอกได้ว่าไตกำลังเสียหายทำหน้าที่ไม่ได้ แสดงผลได้ว่าอาจเกิดจากการขาดน้ำ ไตผิดปกติขับ Urea Nitrogen ออกทางปัสสาวะไม่หมด และอาจเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลว
▶️
Creatinine
4.54 mg/dL (ค่าปกติ 0.73 - 1.18 mg/dL)
สูงกว่าปกติ
อาจเกิดจากไตเสียหาย ท่อปัสสาวะถูกปิดกั้น ขาดน้ำ แล้วโรคหัวใจวาย จากการที่ปริมาตรเลือดออกจากหัวใจน้อย ทำให้ไตได้รับเลือดที่ผ่านมาให้ไตกรองน้อย
▶️
Albumin
2.8 g/dL (ค่าปกติ 3.5 - 5.2 g/dL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดจากการขาดสารอาหารจำพวกโปรตีน อาจเกิดจากโรคไตรั่วจึงทำให้ปล่อยโปรตีนทิ้งไปกับปัสสาวะ ไม่สามารถกรองกลับเข้าสู่ร่างกาย และอาจเกิดจากภาวะหัวใจวายปั๊มเลือดออกมาน้อยทำให้ตับได้เลือดไม่พอ
▶️
Calcium
8.4 mg/dL (ค่าปกติ 8.8 - 10.6 mg/dL)
▶️
Magnesium
3.31 mg/dL (ค่าปกติ 1.6 - 2.6 mg/dL)
โลหิตวิทยา
28 มกราคม 2564
▶️
WBC(Cell count)
Found
▶️
WBC Result
84 Cells/cumm
▶️
PMN
4 %
▶️
MN
96 %
▶️
RBC(Cell count)
Found
▶️
RBC Result
45 Cells/cumm
▶️
Specimen(Cell count)
Ascitic fluid
28 มกราคม 2564
▶️
Hemoglobin(Hb)
8.9 g/dL (ค่าปกติ 12.8 - 16.1 g/dL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดภาวะเลือดไหลออกนอกหรือตกใน อาจเกิดจากโรคไตที่ส่งผลต่อฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างไขกระดูก หรืออาจเกิดจากขาดแร่ธาตุ
▶️
Hematocrit(Htc)
27.7 % (ค่าปกติ 38.2 - 48.3 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดจากการขาดสารอาหาร เช่น vit B12 กรดโฟลิก ธาตุเหล็ก อาจเกิดจากเซลล์ไขกระดูกมีความผิดปกติสร้างเม็ดเลือดแดงไม่ได้
▶️
RBC
2.80 10^6/uL (ค่าปกติ 4.03 - 5.55 10^6/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดโรคไตหรือไขกระดูกผลิตเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดแดงมากน้อยเกินไป
▶️
MCV
99.0 fL (ค่าปกติ 78.9 - 98.6 fL)
สูงกว่าปกติ
ร่างกายอาจพร่อง VitB 12 หรือกรดโฟลิก
▶️
Neutrophil
80.4 % (ค่าปกติ 48.1 - 71.2 %)
สูงกว่าปกติ
อาจเกิดการติดเชื้อ การอักเสบ หรือเกิดจากการเผาผลาญอาหารบกพร่อง
▶️
Lymphocyte
14.3 % (ค่าปกติ 21.1 - 42.7 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจมีปัญหาโรคไต มีภาวะเครียด หรือได้ยาที่มีฤทธิ์กดไขกระดูก
▶️
Platelet count
42 10^3/uL (ค่าปกติ 154 - 384 10^3/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดจากโรคไตหรือเกิดการขับทิ้งเม็ดเลือดและเกล็ดเลือดที่สลายตัวแล้วออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ อาจเกิดจากไขกระดูกลดการผลิตเกล็ดเลือดลดลง
28 มกราคม 2564
Coagulation test
▶️
PT
16.8 seconds (ค่าปกติ 10.3 - 12.8 seconds)
สูงกว่าปกติ
อาจทำให้เลือดแข็งตัวช้า
▶️
INR
1.46 (ค่าปกติ 0.88 - 1.11)
Complete Blood Count
▶️
Hemoglobin(Hb)
8.6 g/dL (ค่าปกติ 12.8 - 16.1 g/dL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดภาวะเลือดไหลออกนอกหรือตกใน อาจเกิดจากโรคไตที่ส่งผลต่อฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างไขกระดูก หรืออาจเกิดจากขาดแร่ธาตุ
▶️
Hematocrit(Htc)
27.0 % (ค่าปกติ 38.2 - 48.3 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดจากการขาดสารอาหาร เช่น vit B12 กรดโฟลิก ธาตุเหล็ก อาจเกิดจากเซลล์ไขกระดูกมีความผิดปกติสร้างเม็ดเลือดแดงไม่ได้
▶️
RBC
2.72 10^6/uL (ค่าปกติ 4.03 - 5.55 10^6/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดโรคไตหรือไขกระดูกผลิตเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดแดงมากน้อยเกินไป
▶️
MCV
99.5 fL (ค่าปกติ 78.9 - 98.6 fL)
สูงกว่าปกติ
ร่างกายอาจพร่อง VitB 12 หรือกรดโฟลิก
▶️
MCHC
31.7 g/dL (ค่าปกติ 32.0 - 34.9 g/dL)
▶️
Neutrophil
71.3 % (ค่าปกติ 48.1 - 71.2 %)
สูงกว่าปกติ
อาจเกิดการติดเชื้อ การอักเสบ หรือเกิดจากการเผาผลาญอาหารบกพร่อง
▶️
Lymphocyte
21.0 % (ค่าปกติ 21.1 - 42.7 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจมีปัญหาโรคไต มีภาวะเครียด หรือได้ยาที่มีฤทธิ์กดไขกระดูก
▶️
Platelets Count
51 10^3/uL (ค่าปกติ 154 - 384 10^3/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดจากโรคไตหรือเกิดการขับทิ้งเม็ดเลือดและเกล็ดเลือดที่สลายตัวแล้วออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ อาจเกิดจากไขกระดูกลดการผลิตเกล็ดเลือดลดลง
1 กุมภาพันธ์ 2564
Coagulation test
▶️
PT
14.1 seconds (ค่าปกติ 10.3 - 12.8 seconds)
สูงกว่าปกติ
อาจทำให้เลือดแข็งตัวช้า
▶️
INR
1.22 (ค่าปกติ 0.88 - 1.11)
Complete Blood Count
▶️
Hemoglobin(Hb)
8.2 g/dL (ค่าปกติ 12.8 - 16.1 g/dL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดภาวะเลือดไหลออกนอกหรือตกใน อาจเกิดจากโรคไตที่ส่งผลต่อฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างไขกระดูก หรืออาจเกิดจากขาดแร่ธาตุ
▶️
Hematocrit(Htc)
24.9 % (ค่าปกติ 38.2 - 48.3 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดจากการขาดสารอาหาร เช่น vit B12 กรดโฟลิก ธาตุเหล็ก อาจเกิดจากเซลล์ไขกระดูกมีความผิดปกติสร้างเม็ดเลือดแดงไม่ได้
▶️
RBC
2.56 10^6/uL (ค่าปกติ 4.03 - 5.55 10^6/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดภาวะ anemia อาจเกิดโรคไตหรือไขกระดูกผลิตเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดแดงมากน้อยเกินไป
▶️
Neutrophil
77.0 % (ค่าปกติ 48.1 - 71.2 %)
สูงกว่าปกติ
อาจเกิดการติดเชื้อ การอักเสบ หรือเกิดจากการเผาผลาญอาหารบกพร่อง
▶️
Lymphocyte
17.6 % (ค่าปกติ 21.1 - 42.7 %)
ต่ำกว่าปกติ
อาจมีปัญหาโรคไต มีภาวะเครียด หรือได้ยาที่มีฤทธิ์กดไขกระดูก
▶️
Platelets Count
48 10^3/uL (ค่าปกติ 154 - 384 10^3/uL)
ต่ำกว่าปกติ
อาจเกิดจากโรคไตหรือเกิดการขับทิ้งเม็ดเลือดและเกล็ดเลือดที่สลายตัวแล้วออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ อาจเกิดจากไขกระดูกลดการผลิตเกล็ดเลือดลดลง
ปัญหาทางการพยาบาล
(Problem list)
ผู้ป่วยมีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
ผู้ป่วยมีภาวะ Electrolyte imbalance
ผู้ป่วยทำ Hemodialysis (HD) สัปดาห์ละ 2 ครั้ง วันจันทร์และวันพฤหัสบดี
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
ผู้ป่วยมีภาวะ End stage renal disease : ESRD (ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย)
มีภาวะซีด
รับประทานอาหารได้น้อย
ความดันโลหิตสูง
Oxygen Saturation ต่ำกว่า 88-95%
ปัสสาวะไม่ออก
มีค่า Lymphocyte ต่ำ 16%
INR PROLONG
ท้องผูก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 1
ผู้ป่วยมีภาวะของเสียคั่งเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน
ข้อมูลสนับสนุน
ผลทางห้องปฏิบัติการ
▶️
BUN
36.4 mg/dL (ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL)
▶️
Creatinine
4.54 mg/dL (ค่าปกติ 0.73 - 1.18 mg/dL)
ผู้ป่วยอ่อนเพลีย
มีภาวะซีด
วัตถุประสงค์
ลดภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
ไม่เกิดอันตรายจากภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการทำ Hemodialysis: HD (การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
เกณฑ์การประเมินผล
ผลทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
▶️
BUN
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL
▶️
Creatinine
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 0.73 - 1.18 mg/dL
ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนเพลีย
ผู้ป่วยไม่มีภาวะซีด
สัญญาณชีพของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการผิดปกติของผู้ป่วย
สังเกตและบันทึกอาการแสดงของภาวะของเสียคั่งในร่างกาย เช่น ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตสูง บวม เพื่อประเมินอาการและรายงานแพทย์
บันทึกสารน้ำเข้า-ออก (Intake-Output) ทั้งลักษณะและปริมาณ ทุก 8 ชั่วโมง เพื่อประเมินความสมดุลของน้ำในร่างกาย
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN, Creatinine เพื่อประเมินระดับของเสียในร่างกาย
จำกัดปริมาณน้ำ 1,000 มิลลิลิตร/วัน ตามแผนการรักษาของแพทย์ เนื่องจากอาจทำให้เกิดภาวะน้ำเกิน (Fluid overload)
จำกัดปริอาหารที่มีโปรตีน โพแทสเซียม และโซเดียมสูง เพื่อลดการทำงานของไตในการกรองของเสีย
เตรียมผู้ป่วยทำ Hemodialysis ทุกวันจันทร์และพฤหัสบดี เพื่อกำจัดของเสียที่คั่งในร่างกาย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะ Furosamide 300 mg. tab ตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 5
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากปัจจัยการแข็งตัวของเลือดลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีจ้ำเลือดบริเวณแขนซ้ายและแขนขวา
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
▶️
PT
14.1 second (ค่าปกติ 10.3 - 12.8 second)
▶️
INR
1.22 (ค่าปกติ 0.88 - 1.11)
▶️
Platelet count
48 10^3/uL (ค่าปกติ 154 - 384 10^3/uL)
ผู้ป่วยได้รับยา Wafarin (ยาต้านการแข็งตัวของเลือด)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่เกิดอันตรายจากภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ผู้ป่วยไม่มีเลือดออกในส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
▶️
PT
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 10.3 - 12.8 second
▶️
INR
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 0.88 - 1.11
▶️
Platelet count
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 154 - 384 10^3/uL
ผู้ป่วยไม่มีจ้ำเลือดที่แขนซ้ายและแขนขวา
กิจกรรมการพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยให้เหมาะสม เพื่อป้องกันอุบัติเหตุหรือการกระทบกระแทก ที่อาจทำให้เสียเลือด เช่น การตกเตียง การหกล้ม หากผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงมากที่เลือดจะออกง่ายอาจต้องดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อน และทำกิจกรรมต่างๆ บนเตียง
ดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวัน เช่น การแปรงฟันควรใช้แปรงสีฟันที่มีความอ่อนนุ่มหรือใช้วิธีบ้วนปากด้วยน้ำเกลือเพื่อลดการระคายเคืองต่อเหงือกและเยื่อยุในปาก
ระมัดระวังเรื่องการฉีดยา การเจาะเลือด การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรเลือกหัวเข็มขนาดเล็ก หลังการฉีดยาหรือเจาะเลือดแล้วควรกดบริเวณที่ฉีดไว้ประมาณ 3 - 5 นาที และหลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย รสไม่จัดโดยเฉพาะรสเผ็ด เพื่อป้องกันการระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลสุขอนามัยของผู้ป่วยโดยการตัดเล็บให้สั้นอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการเกาของผู้ป่วยที่อาจทำให้เกิดแผล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 7
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายเนื่องจากเบื่ออาหาร
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่อยากรับประทานอาหารของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยมีรูปร่างผอมน้ำหนักลดลงจาก 54 กิโลกรัม เหลือ 51 กิโลกรัม ภายใน 1 เดือน
ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สดชื่น
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องโภชนาการ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้มากขึ้น
ผู้ป่วยมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเดิม
ผู้ป่วยมีสีหน้าที่สดชื่น
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารอ่อนและควรเป็นอาหารที่ให้โปรตีนและพลังงานสูง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อให้ลำไส้ของผู้ป่วยมีการเคลื่อนที่และอยากอาหารมากขึ้น
ประเมินภาวะทางโภชนาการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยปรับอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นที่ต้องรับประทานอาหาร
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 2
ผู้ป่วยมีภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกายเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการของภาวะเสียสมดุลของสารน้ำในร่างกาย เช่น น้ำหนักเปลี่ยนแปลง ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง มีอาการบวมจากการคั่งของน้ำในเนื้อเยื่อ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แนะนำให้ผู้ป่วยได้รับประทานเกลือแร่หรืออาหารเสริม เพื่อรักษาระดับอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
ให้ผู้ป่วยฟอกไตหรือกรองของเสียออกจากเลือด
ด้วยการทำ Hemodialysis เนื่องจากระดับอิเล็กโทรไลต์ที่ไม่สมดุล
แนะนำการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดนรับประทานทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง หลีกเลี่ยงของหมักดองและอาหารรสจัดทุกชนิด
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ดี
ผู้ป่วยมีผิวชุ่มชื้น
ผลตรวจทางห้องปฏิการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
▶️
Phosphorus
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.3 - 4.7 mg/dL
▶️
Magnesium
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 1.6 - 2.6 mg/dL
▶️
Sodium
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 136 - 145 mmol/L
▶️
Chloride
อยู่ในเกณฑ์ปกติ 98 - 107 mmol/L
เพื่อให้ผู้ป่วยมีปริมาณ electrolytes ในร่างกายที่สมดุล
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
▶️
Phosphorus
1.6 mg/dL (ค่าปกติ 2.3 - 4.7 mg/dL)
▶️
Magnesium
2.99 mg/dL (ค่าปกติ 1.6 - 2.6 mg/dL)
▶️
Sodium
133 mmol/L (ค่าปกติ 136 - 145 mmol/L)
▶️
Chloride
95.5 mmol/L (ค่าปกติ 98 - 107 mmol/L)
ผู้ป่วยเบื่ออาหาร
ผู้ป่วยผิวแห้ง ปากแห้ง
ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่อง End stage renal disease: ESRD (ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 3
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการมีภาวะหัวใจล้มเหลว เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพของผู้ป่วย เพื่อสังเกตอาการผิดปกติ
ประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว โดยสังเกตจากอาการแน่นหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย หายใจลำบาก เสมหะเป็นฟองสีชมพู
ประเมินภาวะน้ำเกิน (Volume overload) เช่น มีภาวะท้องมาน ขาบวมกดบุ๋ม
ติดตามผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG (Electrocardiogram)
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
▶️
INR
ค่าปกติ 0.88 - 1.11
▶️
BUN
ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL
หากผิดปกติให้รายงานแพทย์
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า - ออก (Intake - Output)
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ และจัดท่านอนให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย เพื่อส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วย
ฟังเสียงปอดทั้ง 2 ข้าง ฟังเสียง Creapitation เพื่อประเมินภาวะน้ำในปอด
ให้ยาตามขับปัสสาวะตามแผนการรักษาของแพทย์ เช่น Furosemide
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
▶️
INR
ค่าปกติ 0.88 - 1.11
▶️
BUN
ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL
ฟังปอดไม่ได้ยินเสียง crepitation
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ Oxygen saturation > 95%
ผู้ป่วยไม่มีภาวะ Pleural effusion
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
▶️
INR
1.22 (ค่าปกติ 0.88 - 1.11)
▶️
BUN
59.6 mg/dL (ค่าปกติ 8.9 - 20.6 mg/dL)
ผู้ป่วยทำ Thoracocentesis ด้านขวาได้ Pleural fluid 400 ml.
Oxygen saturation 92% (วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564)
ฟังปอดด้านขวาได้ยินเสียง Crepitation
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 6
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาพผิวหนังโดยสังเกตว่ามีรอยแดงหรือรอยกดทับหรือไม่ โดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูก เช่น กระดูกก้นกบ
ส้นเท้า ข้อศอก กระดูกสันหลัง สะบัก เพื่อสังเกตอาการผิดปกติ
ดูแลความสะอาดของร่างกายผู้ป่วยตามผิวหนัง ข้อพับไม่ให้อับชื้น ดูแลผิวหนังให้ชุ่มชื้น เช่น การอาบน้ำ ทาโลชั่น
ดูแลผ้าปูเตียงให้สะอาด แห้ง เรียบตึง เปลี่ยนทุกครั้งเมื่อเปียกชื้น เพื่อป้องกันการอับชื้นและรักษาความสะอาด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง ใช้หมอช่วยในการจัดท่า โดยนอนตะแคง 30 องศา เพื่อหลีกเลี่ยงแรงกดโดยตรงกับปุ่มกระดูกและป้องกันการเสียดสีของผิวหนัง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวร่างกายให้มากที่สุด โดยการขยับแขนขา หรือออกกำลังกาย เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับจากการนอนนิ่งๆ
ใช้ที่นอนลม เพื่อลดการกดทับหรือกระจายแรงกดทับจากการนอน
ประเมินผล Braden Score เพื่อนำมาวางแผนการรักษาทางการพยาบาล
ทาโลชั่นให้ผู้ป่วย เพื่อให้ความชุ่มชื้น
ให้เกิดความยืดหยุ่นของผิวหนัง และลดการเสียดสีที่ผวหนังของผู้ป่วย
ผิวหนังชุ่มชื้นมีความยืดหยุ่นดี
Braden score = 19 - 23 คะแนน
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดแผลกดทับจากการนอนเป็นเวลานาน
การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง ไม่มีแรงก้าวขา
Braden score = 18 คะแนน (มีความเสี่ยงน้อย)
ผิวหนังแห้ง ความยืดหยุ่นลดลง
ผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 8
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้เอง
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติในการป้องกันกันการพลัดตกหกล้มในโรงพยาบาล เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
ขณะให้การพยาบาลล็อกล้อเตียงไว้ตลอด และยกราวกั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาลเสร็จเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
ในกรณีที่ไม่มีญาติดูแลให้จัดออดสัญญาณเรียกต่างๆ ให้พร้อมใช้งานตามความเหมาะสมและอยู่ใกล้มือผู้ป่วย เพื่อให้พยาบาลช่วยดูแลความสะดวกสบายและป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ติดป้ายสัญลักษณ์ เพื่อแสดงว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด ติดบริเวณหัวหรือท้ายเตียงของผู้ป่วย
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยอย่างน้อยมชทุก 2 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสม เพื่อคอยดูแลผู้ป่วย
ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยอยู่เสมอ รับรู้สถานที่ รู้เวลากลางวันกลางคืน มีอาการสับสนหรือไม่ เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
ผู้ป่วยไม่มีบาดแผลบนร่างกาย
ประเมินผล Fall score
เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
ผู้ป่วยต้องพึ่งพาผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้
Fall score = 5 คะแนน (มีความเสี่ยงสูง)
ผู้ป่วยได้รับยา Keppra มีผลทำให้ง่วงซึม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 9
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวลและความกลัว เพื่อหาสาเหตุแก้ไขตามสาเหตุ
สร้างสัมพันธภาพดูแลเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเกิดความมั่นใจในตัวพยาบาล
แนะนำวิธีผ่อนคลาย เช่น พูดคุย ควบคุมการหายใจ เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อคลายความวิตกกังวล
พูดคุยถึงสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดความวิตกกังวล แล้วให้ผู้ป่วยเสนอวิธีการแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้สำเร็จ โดยมีพยาบาลคอยให้คำแนะนำและให้กำลังใจ
พูดคุยกับญาติและผู้ป่วย ไม่ทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง เพื่อแสดงความใส่ใจและช่วยเหลือให้คลายความกังวล
พูดคุยกับญาติและผู้ป่วย ไม่ทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง เพื่อแสดงความใส่ใจและช่วยเหลือให้คลายความกังวล
แนะนำให้ญาติและผู้ป่วยเข้าใจกับปัญหา เพื่อสามารถเผชิญกับปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยและญาติสามารถบอกปัญหาที่ทำให้เกิดความวิตกกังวล และมีวิธีการแก้ปัญหา
สีหน้าของผู้ป่วยยิ้มแย้ม
ผู้ป่วยและญาติมีวิธีจัดการปัญหาอย่างเหมาะสม
เพื่อคลายความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
ญาติบอกเป็นห่วงผู้ป่วยที่อยู่โรงพยาบาล
ผู้ป่วยบอกว่าไม่มีโอกาสได้กลับบ้าน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 4
ผู้ป่วยเสี่ยงติดเชื้อบริเวณ exit site ของ double lumen catheter
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมทางการพยาบาล
ควรหลีกเลี่ยงการติดปลาสเตอร์หรือสวมเสื้อที่กดบริเวณปลายสายสวน เพื่อป้องกันการกดทับของแผล
ไม่ควรนอนตะแคงทับไหล่ข้างที่ใส่สาย เพราะจะทำให้สายหักพับงอ เกิดลิ่มเลือดอุดตันภายในสายได้
หากไหมเลื่อนหลุด และสายสวนเลื่อนหลุดออก ไม่ควรดันสายเข้าไปเอง ให้หาผ้าสะอาดผิดบริเวณปากแผลให้แน่น
ห้ามให้ยา ให้สารละลาย หรือเก็บตัวอย่างเลือดจากสายสวน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ประเมินบริเวณสายหากมีอาการคัน บวม ปวด หรือมีเลือด หนองซึมบริเวณรอบๆสายหรือมีไข้ ควรรายงานแพทย์
ดูแลรักษาปิดแผลให้แห้ง ไม่เปียกชื้น ไม่แกะเกา บริเวณรอบแผลที่ปิดไว้ ไม่เปิดล้างแผลเอง
ไม่มีอาการปวด บวม แดง ร้อน หรือหนองซึมบริเวณรอบแผล
อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ 36.5 - 37.4ํ
ป้องกันการติดเชื้อของแผล
ผู้ป่วยมีการฟอกไตบริเวณ double lumen catheter
มีการเปิดแผลขณะทำการฟอกไต