Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเฝ้าระวัง หน่วยที่ 3 - Coggle Diagram
กระบวนการเฝ้าระวัง
หน่วยที่ 3
หลักเกณฑ์การคัดเลือกโรคหรือปัญหาเพื่อการเฝ้าระวัง
ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในภาพรวมของประเทศไทย
ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อ (9)
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (3)
ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (3)
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (3)
ระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (3)
องค์การอนามัยโลก กำหนดข้อพิจารณาในการดำเนินการเฝ้าระวัง ดังนี้
ปัญหาด้านสุขภาพ/โรค มีความสำคัญทางด้านสาธารณสุขมากน้อย
แค่ไหน
สามารถดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขได้หรือไม่
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ สามารถหาได้ง่ายหรือไม่
คุ้มค่า/มีประโยชน์ที่จะด าเนินการหรือไม่
การจัดลำดับความสำคัญของโรคที่เฝ้าระวัง (Priority diseases)
ผลกระทบรุนแรง เช่น ป่วย, ตาย, พิการ
มีศักยภาพสูงในการระบาด เช่น ไข้หวัดนก, อหิวาต์, หัดฯ
เป็นโรคเป้าหมายสำคัญระดับชาติ – นานาชาติ เช่น โรคที่เป็นภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ
มีการดำเนินงานต่อเนื่องทันที เช่น ให้ภูมิคุ้มกัน, มาตรการควบคุมโรคโดยส่วนกลาง
โรคที่มีความสำคัญสูง (Priority diseases)
โรคที่มีความสำคัญสูงในประเทศไทย ได้แก่
อหิวาตกโรค (Cholera)
โบทูลิซึม (Botulism)
การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning outbreak)
พิษสุนัขบ้า (Rabies)
ไข้เลือดออก (Dengue infection)
หัด (Measles)
คอตีบ (Diphtheria)
กลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกเฉียบพลัน (Acute Flaccid
Paralysis: AFP)
บาดทะยักในทารกแรกเกิด (Tetanus neonatorum)
ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal infection)
ไข้สมองอักเสบและไข้สมองอักเสบเจแปนนิส (Encephalitis and
Japanese encephalitis)
ปอดอักเสบเฉียบพลันรุนแรง (Severe acute pneumonia)
อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
(Adverse Event Following Immunization: AEFI)
เสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุสงสัยสาเหตุจากโรคติดต่อร้ายแรง
เหตุการณ์การระบาดเป็นกลุ่มก้อน (Cluster of illnesses)
ข้อกำหนดในการพัฒนาสมรรถนะหลักของประเทศด้านการเฝ้าระวังและตอบสนอง
ระดับท้องถิ่นและหรือระดับต้น
1) การตรวจจับเหตุการณ์ (Detect events)
2) การรายงานข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ
3) การควบคุมโรคขั้นต้นทันที
ระดับกลาง
1) การตรวจสอบยืนยันเหตุการณ์ที่ได้รับรายงานจากหน่วยระดับต้น
2) การสนับสนุนหรือดำเนินการมาตรการควบคุมโรคเพิ่มเติม
3) การประเมินสถานการณ์ทันที ถ้าเร่งด่วนรุนแรงให้รายงานต่อไปส่วนกลาง
ระดับชาติ
2) การตอบสนองทางสาธารณสุข (Public health response)
ควบคุมการแพร่กระจายของโรค ทั้งในและระหว่างประเทศ
ให้การสนับสนุนผ่านทางผู้เชี่ยวชาญ กาวิเคราะห์ทาง
ห้องปฏิบัติการ และการส่งกำลังบำรุง
สนับสนุนทีมสอบสวนควบคุมโรค
รายงานผู้บริหารระดับสูงและประสานเจ้าหน้าที่ต่างๆ เพื่อขอ
ความเห็นชอบและอนุมัติ
ติดต่อประสานงานโดยตรงกับกระทรวงอื่นที่เกี่ยวข้อง
จัดให้มีการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงหน่วยงาน/
องค์กรที่เกี่ยวข้อง
จัดให้มีและด าเนินการตามแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขระดับชาติ
ด าเนินกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นได้ตลอด 24 ชั่วโมง
1) การประเมินสถานการณ์เร่งด่วนภายใน 48 ชั่วโมง และแจ้งเหตุต่อ
องค์การอนามัยโลก
ข้อกำหนดว่าด้วยภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ
เกณฑ์พิจารณา
ทำให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพที่รุนแรง
(seriousness of the public health impact)
เป็นเหตุการณ์ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน
(unusual or unexpected nature of the event)
มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น
(potential for the event to spread)
อาจต้องจ ากัดการเคลื่อนที่ของผู้คนหรือสินค้า
(the risk that restrictions to travel or trade)
การจัดกลุ่มภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุข
1) กลุ่มโรคติดเชื้อร้ายแรง
2) กลุ่มโรคติดเชื้อที่เกิดเฉพาะพื้นที่
3) เหตุการณ์ที่ไม่เข้าข่าย 2 กลุ่มแรก
รูปแบบของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance)
เป็นระบบเฝ้าระวังที่นิยมใช้กันมากที่สุด เฝ้าระวังแบบนี้มักจะได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน ผู้รับผิดชอบต้องคอยตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ
การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance)
การเฝ้าระวังนี้ได้ข้อมูลค่อนข้างครบถ้วนและรวดเร็ว
เพื่อให้สามารถเข้าไปดำเนินการควบคุมโรคได้อย่างทันท่วงทีไม่ให้โรคแพร่ระบาดออกไปอย่างกว้างขวาง
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่ม (Sentinel Surveillance)
เป็นระบบเฝ้าระวังที่ไม่เน้นด้านความครอบคลุมของการเฝ้าระวัง ระบบเฝ้าระวังชนิดนี้ต้องการข้อมูลที่มีคุณภาพสูงกว่าการเฝ้าระวังแบบ passive surveillance จึงยินยอมที่จะเก็บข้อมูลน้อยกว่าแต่ต้องได้ข้อมูลที่มีคุณภาพสูง
การเฝ้าระวังที่ดำเนินการเฉพาะเพียงบางพื้นที่
การเฝ้าระวังที่ดำเนินการเก็บข้อมูลเพียงบางกลุ่มประชากร
การเฝ้าระวังที่ดำเนินการเก็บข้อมูลเพียงบางโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังที่ดำเนินการเก็บข้อมูลเพียงบางระดับความรุนแรงของโรค
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event-based surveillance)
การตรวจหาและจัดระบบข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสาธารณสุข
มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจจับการระบาดของโรค
เหตุการณ์ที่เฝ้าระวัง คือ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน และเหตุการณ์ที่มีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดโรคในคน
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน
เหตุการณ์ที่มีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดโรคในคน
การเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (Syndromic surveillance)
การเฝ้าระวังที่มีการกำหนดนิยามผู้ที่ต้องเฝ้าระวังตามกลุ่มอาการ
ไม่ใช่ตามชนิดของโรค เช่น กลุ่มอาการโรคระบบทางเดินหายใจ
รายงานผู้ป่วยเป็นรายๆ (Case-base reporting) โดยที่ไม่ต้องรอให้
แพทย์วินิจฉัยที่ชัดเจนก็ได้
ตัวอย่าง เช่น การเฝ้าระวังอุจจาระร่วง กลุ่มอาการไข้และผื่น กลุ่ม
อาการไข้และมีอาการทางสมอง กลุ่มอาการปอดอักเสบ เป็นต้น
มักด าเนินการควบคู่ไปกับการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ เพราะจะ
ทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นระบบ สามารถติดตามเชื้อก่อโรคที่เกี่ยวข้องได้
การเฝ้าระวังพิเศษ (Special Surveillance)
วัตถุประสงค์เพื่อค้นหาการเกิดโรคใหม่ๆ หรืออยู่ที่ภาวะความเสี่ยง
ของการเกิดโรคเพื่อทราบสถานการณ์ที่แท้จริงอย่างทันเวลา
มักทำการเฝ้าระวังตามเหตุการณ์หรือเวลาสั้นๆ
รูปแบบการเฝ้าระวังอาจคล้ายการเฝ้าระวังเชิงรับ แต่เข้มข้นกว่า เช่น
การเฝ้าระวังสาเหตุการตายในวิกฤติ
การเฝ้าระวังในชุมชน (Community Surveillance)
เป็นการเฝ้าระวังที่บุคคลในชุมชนเป็นผู้ด าเนินการ
เช่น อสม. ซึ่งอาจเป็นแบบเชิงรับ (รายงานผู้ป่วย)
คุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังที่ดี
ดำเนินการเฝ้าระวังปัญหาที่ส าคัญได้
ให้ข้อมูลที่รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
ให้ความรู้ที่ถูกต้องแม่นยำ
• มีความไวและความจ าเพาะสูง
• ข้อมูลที่ได้เป็นตัวแทนของกลุ่มที่เราต้องการเฝ้าระวัง
ง่ายและสามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย
ค่าใช้จ่ายถูก
เป็นที่ยอมรับ
เชิงคุณภาพ
ความยอมรับได้ (acceptability)
ความเรียบง่าย (simplicity)
ความยืดหยุ่น (flexibility)
ความมั่นคง (stability)
เชิงปริมาณ
ความไว (sensitivity)
ความสามารถในการทำนายค่า
(predictive)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความทันเวลา (timeliness)
ความเป็นตัวแทน
(representativeness)
ขั้นตอนและแนวทางการเฝ้าระวัง
การรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
1.1 การรวบรวมข้อมูลเฝ้าระวังโดยการรายงาน
ภาวะใดหรือโรคใดบ้างที่จะต้องรายงาน
ใครเป็นผู้ที่มีหน้าที่ในการรายงาน
ข้อมูลอะไรบ้างที่จะต้องด าเนินการจัดเก็บประกอบการรายงานผู้ป่วย 1 ราย
วิธีการรวบรวมและการบันทึกข้อมูล
จะต้องด าเนินการจัดส่งข้อมูลอย่างไรส่งไปยังหน่วยงานใดส่งที่เพียงใด
จะต้องด าเนินการควบคุมโรคอย่างไร
1.2 การรวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังโดยการสำรวจ
ประชากรเฝ้าระวัง
ขนาดตัวอย่าง
วิธีการเลือกตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
การด าเนินการเก็บข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการส่งต่อข้อมูล
การได้มาซึ่งข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวัง หน่วยเฝ้าระวังอาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการเก็บข้อมูลเอง แต่สามารถใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่ดำเนินการจัดเก็บโดยหน่วยงานอื่นได้
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
เปรียบเทียบสถานการณ์ขนาด (Magnitude) ของโรคที่สนใจ
แสดงให้เห็นถึงรูปแบบของการเกิดโรค (pattern of disease)
2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลตามเวลา มักมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงแนวโน้มการ
เกิดโรคในระยะยาว แสดงการเปลี่ยนแปลงของการเกิดโรคตามฤดูกาล
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลตามบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุกลุ่มประชากร
เสี่ยง ตัวแปรที่มักจะน ามาวิเคราะห์
2.3 การวิเคราะห์ข้อมูลตามสถานที่ จะช่วยระบุพื้นที่ที่พบผู้ป่วยมากกว่า
ปกติหรือมากกว่าพื้นที่อื่นได้
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง มีความสำคัญเพราะการนำเสนอที่ดีจะต้องคำนึงถึงวิธีการนำเสนอที่ถูกต้องเหมาะสมกับชนิดของตัวแปร
การแปลผลข้อมูล (Data interpretation)
เป็นการนำผลการวิเคราะห์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันมาพิจารณา
อย่างมีเหตุผล แล้วให้ข้อสรุปหรือการวินิจฉัยที่ถูกต้องเหมาะสม
3.1 ตัวอย่างของข้อมูล (Data)จากการเฝ้าระวังโรคหัด พบว่า มีผู้ป่วยโรคหัด มารับบริการการรักษาจากสถานบริการที่มีอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
3.2 ตัวอย่างของความรู้หรือข้อเท็จจริง (Information)จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ตั้งแต่ปีที่แล้วจนถึงช่วงเวลาที่วิเคราะห์ข้อมูล โรคหัด มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น 50%
3.3 ตัวอย่างของข่าวสาร (Message)จากข้อมูลและข้อเท็จจริงสามารถนำมาบรรยายเป็นข่าวสารที่สื่อสารให้ผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลจากการเฝ้าระวังได้อย่างถูกต้องมากขึ้น
ข้อแตกต่างของข้อมูลกับข่าวสาร คือ ข่าวสารจะเป็นข้อความที่ขยาย
จากข้อมูล เพื่อให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังที่เป็นกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าใจหรือมี
แนวทางในการปฏิบัติการต่อไป
การกระจายข้อมูลข่าวสาร (Dissemination of information)
4.1 การเผยแพร่เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร (inform) เกี่ยวกับสถานการณ์
ของโรคที่มีการแจกแจงตามลักษณะของโรค
4.2 การเผยแพร่เพื่อการกระตุ้น (stimulate) คือการเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารให้กับผู้ที่เก็บรวบรวมข้อมูลมีการตอบสนองและให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลมากยิ่งขึ้น
ช่องทางการเผยแพร่ในปัจจุบัน
e-mail
Internet / website
จดหมายเหตุสื่อสาธารณะ
ทางประชาสัมพันธ์ / สื่อมวลชน
รายงานสรุปผลการด าเนินงาน / การประชุม
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
บัตรรายงานผู้ป่วย (รง.506)
บัตรเปลี่ยนแปลงรายงานผู้ป่วย (รง.507)
ทะเบียนออกเลขที่บัตรรายงานผู้ป่วย (E.0)
ทะเบียนผู้ป่วยแยกตามชนิดของโรค (E.1)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายวันในแต่ละเดือนแยกตามชนิดของโรค (Dr)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือนและอำเภอ แยกตามชนิดโรค (E.2)
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือน ตามกลุ่มอายุและเพศแยกตามชนิดโรค(E.3)
รายงานสถานการณ์ของโรคประจ าสัปดาห์ ตามวันรับรักษาผู้ป่วย (E.4)
รายงานการปฏิบัติงานประจ าเดือน (E.7)
ทะเบียนรับบัตร รง.506 ของงานระบาดวิทยาจังหวัด เป็นรายวัน (E.8)
ทะเบียนรับบัตร รง.506 และบัตร รง.507 ของงานระบาดวิทยาเป็นรายเดือน (E.8.1)
แบบบันทึกกิจกรรมการใช้ประโยชน์ข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยา (E.9)
โครงสร้างและข่ายงานเฝ้าระวัง
ระดับท้องถิ่น (periphral level)
รพ.สต / รพช. / รพศ.
ระดับกลาง (intermediate laval)
สสจ.
ระดับศูนย์กลางประเทศ (central laval)
กระทรวงสาธารณสุข Ministry of Public Health
ระดับนานาชาติ (international level)
องศ์การอนามัยโลก World Health Organization