Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน, 3AEAB0AC-0686-491E-A11A…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (อายุ 20 ถึง 40 ปี) เป็นระยะที่บุคคลมีการเจริญเติบโตทางร่างกายสมบูรณ์ ที่สุด มี ร่างกายแข็ง อวัยวะต่างๆ ทํางานอย่างเต็มที่ ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มั่นใจในตนเอง
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านชีววิทยา
ได้แก่ เส้นผมจะเริ่มร่วง หยาบขึ้น และขาวแซมเห็นชัด ประปราย และอาการเหล่านี้จะปรากฏมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น สายตายาว ความล้า ทางสายตาจะเกิดเร็วขึ้น ผิวหนังจะเริ่มสีซีดลง ความตึงตัวของผิวหนังลดน้อยลง การรับรส การสัมผัสกลิ่นต่างๆ เริ่มไม่ดี และเริ่มมี ปัญหาการได้ยิน
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์
ผู้ชายและผู้หญิงเมื่อเข้าสู่วัยทองจะแบ่งเป็นสอง กลุ่มคือ ชายและหญิงที่ประสบความสําเร็จในอาชีพการงาน และกลุ่มชายและหญิงที่ ไม่ประสบความสําเร็จใน อาชีพการงาน ผู้ที่ประสบความสําเร็จในอาชีพการงาน จะมีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถพัฒนาตนและการเข้าสู่ พัฒนาการ ในช่วงชีวิตวัยทองได้อย่างมีวุฒิภาวะ มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีความสามารถในการควบคุม ตนเอง เป็นผู้ใหญ่ สุขุม มีหลักการ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โอบอ้อมอารี
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
เช่น รายรับไม่พอกับรายจ่าย การมีหนี้สิน ด้อย กว่าเพื่อนในรุ่นเดียวกัน เป็นสาเหตุแห่งความเครียด ความวิตกังวลและอาจ เป็นตัวเร่งให้เกิดวัยทองของผู้ชาย และผู้หญิงเร็วขึ้น
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน
ปัญหาพฤติกรรมการดาเนินชีวิต
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
การเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในวัยทอง
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตสมรส
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูบุตร
ปัญหาการปรับตัวของคนโสด
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน
ปัจจัยส่วนบุคคล
ซึ่งพบว่าการเจ็บปุวยบางชนิดมีการถ่ายทอดทางยีนส์ เช่น โรค
หลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง
พฤติกรรมสุขภาพ
ความเชื่อและศาสนา ซึ่งสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งจะมีผลต่อความคิด การตัดสินใจและพฤติกรรมของคนในสังคมนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นผลทั้งในทางบวกและในทางลบต่อสุขภาพ เช่น คน ที่ปุวยในวาระสุดท้าย
วัฒนธรรม
ความเชื่อและศาสนา ซึ่งสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งจะมีผลต่อความคิด การตัดสินใจและพฤติกรรมของคนในสังคมนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นผลทั้งในทางบวกและในทางลบต่อสุขภาพ เช่น คน ที่ปุวยในวาระสุดท้าย
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น สิ่งแวดล้อมที่เป็นหมอกควัน อยู่ใกล้ โรงงานอุตสาหกรรม หรืออยู่ในย่านชุมชน มักทําให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ
ทั้งสองปัจจัยนี้มีอิทธิพลต่อสุขภาพของบุคคล เช่น การ เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุตสาหกรรม ทําให้คนไทยต้องเปลี่ยนวิถีการ ดําเนินชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ระบบช่วนขเหลือสนับสนุน
ปัจจัยนี้จะช่วยให้คนมีภาวะสุขภาพได้ทั้งดีและไม่ดี คนที่มี ระบบ ช่วยเหลือสนับสนุนหรือแหล่งประโยชน์ที่ดี
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน
การสร้างเสริมสุขภาพเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางหลังจากที่ค้นพบว่า การเจ็บปุวย ด้วยโรคเรื้อรังในปัจจุบันมีอิทธิพลมาจากพฤติกรรมที่ไม่ได้คํานึงถึงภาวะสุขภาพ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริม สุขภาพช่วยทําให้มนุษย์เข้าใจและใช้ความรู้ดังกล่าวมาช่วยแก้ไขพฤติกรรมต่างๆที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ใน ปัจจุบันมีการนําแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพมาใช้เป็นแนวทางทําความเข้าใจเกี่ยวกับ พฤติกรรมสุขภาพ การปรับและแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยง
กลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทางาน
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
การนอนหลับ การพักผ่อนและการมีกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การจัดการความเครียด
การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายอย่างสม่าเสมอ
บทบาทของพยาบาลพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือจัดทาโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ประเมินปัญหาสุขภาพ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การสนับสนุนให้เกิดนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพในระดับต่างๆ