Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด
1.การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
ความหมาย
ความสามารถในการใช้บุคลิกภาพและความเป็นตัวตนของบุคคลอย่างมีสติ และมีการตระหนักรู้อย่างเต็มที่ในความพยายามที่จะสร้างสายสัมพันธ์กับผู้ป่วย เพื่อที่จะให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วย
มโนมติพื้นฐานในการรู้จักและเข้าใจตนเอง
อัตตาหรือความเป็นตัวตนของตนเอง(Self)
Physical self
อัตมโนทัศน์(Self Consept)
ความตระหนักในตนเอง(Self-awareness)
1.การรับรู้รูปแบบของตน
1.1แนวคิดของโรเจอร์ส
1.ตนตามที่รับรู้
2.ตนเองความเป็นความเป็นจริง
3.ตนตามอุดมคติ
2.การรู้จักตนในบริบทของสิ่งแวดล้อม
1.2 แนวคิดของโบลส์และดาเวนพอร์ท
2.เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
3.หลักการและขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
4.เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
การฟัง
การฟังอย่างตั้งใจ
1.ฟังทุกถ้อยคำที่ผู้ป่วยพูดออกมา
2.ทำความเข้าใจในความคิดความรู้สึกที่ผู้ป่วยพูด
3.ทำให้เข้าใจในสิ่งที่ผุ้ป่วยพูด
4.เป็นการแสดงออกถึงการยอมรับ มองเห็นคุณค่าของผู้ป่วย
4.1เทคนิคที่ช่วยเสริมความมีคุณค่า
การแสดงการระลึกได้ จำได้(giving recognition)
เรียกชื่อผู้ป่วยได้ถูกต้อง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยในแต่ละวัน
การยอมรับ(accepting or showing acceptance)
แสดงท่าทีสนใจตั้งใจรับฟัง ทั้งภาษาพูดและท่าทาง
ค่ะ
ค่ะ ดิฉันกำลังฟังอยู่ค่ะ
การกล่าวทักทายเมื่อพบผู้ป่วย
การพยักหน้า
ประสานสายตาผู้ป่วย
ไม่หัวเราะเยาะในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก ไม่พูดค้าน
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย(Offering Self)
การที่พยาบาลเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย แม้ว่าผู้ป่วยยังไม่พร้อมสื่อสารกับพยาบาล จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นและมีค่า ไม่ถูกทอดทิ้ง
1.ดิฉันจะนั่งเป็นเพื่อนคุณสักครู่
2.ฉันจะนั่งคุยเป็นเพื่อนคุณนะคะ
3.ถ้าคุณมีอะไรอยากจะบอก คุณสามารถเล่าให้ดิฉันฟังได้นะคะ
4.มีอะไรที่ฉันจะช่วยคุณได้บ้าง
4.2 เทคนิคที่กระตุ้นการเปิดเผยตนเอง
การใช้คำถามกว้าง (giving broad opening state)
เป็นคำถามปลายเปิด ไม่ได้มีการระบุไปยังเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการเริ่มต้นการสนทนา
1.วันนี้เราจะคุยเรื่องอะไรกันดี
2.มีอะไรที่ทำให้คุณกังวลใจบอกได้นะคะ
3.ไม่พบกัน 2 วัน คุณก.มีเรื่องอะไรอยากเล่าให้ดิฉันฟังบ้างคะ
4.ตอนนี้คุณ ก. อยากคุยเรื่งอะไรคะ
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความคิด ความรู้สึกที่กังวล คับข้องใจ ประเด็นปัญหาในใจ
การใช้คำถาม(Questioning)
1.การใช้คำถามปลายเปิด
1.วันนี้มีอะไรที่ทำให้คุณรู้สึกไม่สบายใจบ้าง
2.กลุ่ม...ที่คุณเข้าร่วมกิจกรรมเมื่อเช้านี้เป็นอย่างไรบ้างคะ
5.เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด
6.ปัญหาแลัการแก้ปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
7.การสร้างเสริมทักษะในการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด