Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน, ดาวน์โหลด (17), ดาวน์โหลด…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ลักษณะของวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านชีววิทยา
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ปัญหาพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
การเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในวัยทอง
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตสมรส
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
9.ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูบุตร
ปัญหาการปรับตัวของคนโสด
กลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
บุคคลวัยผู้ใหญ่ควรได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนทั้ง 5 หมู่ และปลอดภัย ไม่มีสารพิษปนเปื้อนอาหารที่รับประทานต้องสามารถย่อย ดูดซึมและใช้ประโยชน์เป็นพลังงานและซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพ โดยสะท้อนออกมาในรูปร่างที่สมส่วน
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
การออกกําลังกายที่เหมาะสมจะช่วยให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทําให้การเผาผลาญพลังงานมีประสิทธิภาพ ไขมันใต้ผิวหนัง และในเลือดลดลงหลอดเลือดยืดหยุ่นดีขึ้น การออกกําลังกายเป็นประจําสม่ําเสมอจะทําให้มีสุขภาพจิตดี
การนอนหลับ การพักผ่อนและการมีกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
การพักผ่อนเป็นสิ่งที่จําเป็น
ต่อร่างกาย อาจแบ่งการพักผ่อนออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ได้แก่ การพักผ่อนนอนหลับและการพักผ่อนแบบกิจกรรมนันทนาการ เช่น การเล่นกีฬา การปลูกต้นไม้ การฟังดนตรี การชมภาพยนตร์ การชมโทรทัศน์
การจัดการความเครียด
เมื่อบุคคลมีความเครียดจะทําให้หัวใจเต้นแรง เร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น
กล้ามเนื้อเกร็งตัว เนื่องจากร่างกายจะตอบสนองโดยการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเธติก ทําให้มีการหลังอีพิเนฟฟินและนอร์อีพิเนฟฟินจากต่อมหมวกไต ทําให้หลอดเลือดหดตัว มีการดูดซึมโซเดียมกลับสู่กระแสเลือด เพิ่มแรงต้านของหลอดเลือด เพิ่มปริมาตรเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจ พบว่า ความเครียดมีความสัมพันธ์กับอาชีพ เศรษฐกิจ การผ่อนคลายความเครียดสามารถทําได้หลายวิธี เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การนั่งสมาธิ
การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
ในปัจจุบันพบว่าโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับ
พฤติกรรมมักสืบเนื่องมาตั้งแต่ช่วงวัยเด็กและวัยรุ่น การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสรีระ จะมีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป อาการและอาการแสดงจะปรากฏในช่วงวัยผู้ใหญ่ หรือวัยสูงอายุ ดังนั้นบุคคลจึงควรให้ความสนใจในสุขภาพของตนเองอยู่ตลอดเวลา ควรมีการตรวจ สุขภาพอย่างสม่ําาเสมอ เช่น ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง วัดไขมันใต้ผิวหนัง ตรวจเลือด
พฤติกรรมการรับประทานยาเพื่อควบคุมโรคเรื้อรัง
การสํารวจภาวะสุขภาพของคนไทย พบว่า
คนไทยวัยผู้ใหญ่จํานวนมากเจ็บปุวยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ และต้องรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง การศึกษาพบว่า ปัญหาที่พบบ่อย ได้แก่ การลืมรับประทานยาหรือรับประทานยาไม่ครบตามที่แพทย์
สั่ง รับประทานยาไม่ตรงเวลา หยุดรับประทานยาและปรับขนาดยาเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ปัจจัยส่วนบุคคล
พฤติกรรมสุขภาพ
วัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ
ระบบช่วยเหลือสนับสนุน
บทบาทของพยาบาลพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
1.ประเมินปัญหาสุขภาพ
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
2.1 การให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ เช่น ความรู้เรื่องโรคและปัญหาสุขภาพ
2.2 การเข้าใจและช่วยเหลือแก้ไขปัญหาแบบปัจเจกบุคคล บุคคลแต่ละคน
2.3 ส่งเสริมกิจกรรมหรือพัฒนาโครงการหรือโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพทั้งโครงการที่มีเปูาหมายที่บุคคลหรือกลุ่ม
3.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การสนับสนุนให้เกิดนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพในระดับต่างๆ
นางสาวเตือนใจ ตรีเดช 634N46108