Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ Urinary Syatem - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
Urinary Syatem
กระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1.กระบวนการกรองที่โกลเมอรูลัส (gromerular)
2.กระบวนการดูดซึมกลับที่หลอกไต (tubular reabsorption
3.กระบวนการคัดหลั่งสารที่หลอดไต (tubular secretion)
ระบบเป็นที่กำจัดของเสียออกจากร่างกายในรูปแบบของของเหลว ที่เรียกว่าน้ำปัสสาวะ
โครงสร้างของหน่วยไต
เเบ่งออกเป็น2ส่วน ได้เเก่ 1.renal corpuscle
2.renal tubule
อาการเเสดงของโรคของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ภาวะบวมเกิดได้จากหลายโรค
2ถ่ายปัสสาวะน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
3.ถ่ายปัสสาวะมาก
4.ถ่ายปัสสาวะยาก
5.กลั้นปัสสาวะไม่ได้
หน้าที่ของไต
1.กำจัดของเสีย
2.ดูดซึมเเละเก็บสารที่เป็นประโยชน์
3.รักษาสมดุลน้ำเเละเกลือเเร่ของร่างกาย
4.รักษาสมดุลต่างๆของร่างกาย
5.ควบคุมความดันโลหิต
การขับปัสสาวะ
1.ท่อไต
2.ท่อปัสสาวะ
3.กระเพาปัสสาวะ
4.ระบบประสาทที่ควบคุมปัสสาวะ
เส้นประสาทที่เลี้ยงไต
ไตได้รับสัญญาณประสาทจากระบบซิมพาเทติกวิ่งขนานไปกับหลอดเลือดส่วนใหญ่จะเป็นเส้นใยหลังปมประสาทซิมพาเทติกซึ่งจะทอดออกมาจากไขมันสันหลังระดับออกส่วนล่างบริเวณ T9 T10 T11 และไขสันหลัง
กระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1.กระบวนการกรองที่โกเมอลูลัส
2.กระบวนการดูดซึมกลับที่หลอดไต
3.กระบวนการคัดหลั่งสารที่หลอดไต
กลไกลการขับถ่ายปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะถูกควบคุมทั้งนอกเเละในอำนาจจิตใจเเตาการควบคุมในอำนาจจิตใจจะมีความสำคัญกว่าคนปกติจะมีความรู้สึกอยากขับถ่ายปัสสาวะถ้ามีการกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกดึงตัวสมองที่ควบคุมการขับถ่ายสามารถควบคุมโดยการเร่งให้ขับถ่ายปัสสาวะเเม้จะยังไม่ปวดถ่ายหรือยังยั้งโดยกลั้นปัสสาวะไว้
กระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1.กระบวนการกรองที่โกลเมอรูลัส (gromerular)
2.กระบวนการดูดซึมกลับที่หลอกไต (tubular reabsorption
3.กระบวนการคัดหลั่งสารที่หลอดไต (tubular secretion)
ระบบเป็นที่กำจัดของเสียออกจากร่างกายในรูปแบบของของเหลว ที่เรียกว่าน้ำปัสสาวะ
โครงสร้างของหน่วยไต
เเบ่งออกเป็น2ส่วน ได้เเก่ 1.renal corpuscle
2.renal tubule
อาการเเสดงของโรคของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ภาวะบวมเกิดได้จากหลายโรค
2ถ่ายปัสสาวะน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
3.ถ่ายปัสสาวะมาก
4.ถ่ายปัสสาวะยาก
5.กลั้นปัสสาวะไม่ได้
หน้าที่ของไต
1.กำจัดของเสีย
2.ดูดซึมเเละเก็บสารที่เป็นประโยชน์
3.รักษาสมดุลน้ำเเละเกลือเเร่ของร่างกาย
4.รักษาสมดุลต่างๆของร่างกาย
5.ควบคุมความดันโลหิต
การขับปัสสาวะ
1.ท่อไต
2.ท่อปัสสาวะ
3.กระเพาปัสสาวะ
4.ระบบประสาทที่ควบคุมปัสสาวะ
เส้นประสาทที่เลี้ยงไต
ไตได้รับสัญญาณประสาทจากระบบซิมพาเทติกวิ่งขนานไปกับหลอดเลือดส่วนใหญ่จะเป็นเส้นใยหลังปมประสาทซิมพาเทติกซึ่งจะทอดออกมาจากไขมันสันหลังระดับออกส่วนล่างบริเวณ T9 T10 T11 และไขสันหลัง
กระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
1.กระบวนการกรองที่โกเมอลูลัส
2.กระบวนการดูดซึมกลับที่หลอดไต
3.กระบวนการคัดหลั่งสารที่หลอดไต
กลไกลการขับถ่ายปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะถูกควบคุมทั้งนอกเเละในอำนาจจิตใจเเตาการควบคุมในอำนาจจิตใจจะมีความสำคัญกว่าคนปกติจะมีความรู้สึกอยากขับถ่ายปัสสาวะถ้ามีการกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกดึงตัวสมองที่ควบคุมการขับถ่ายสามารถควบคุมโดยการเร่งให้ขับถ่ายปัสสาวะเเม้จะยังไม่ปวดถ่ายหรือยังยั้งโดยกลั้นปัสสาวะไว้
Link Title
สรุป ระบบขับถ่ายปัสสาวะเป็นระบบหนึ่งในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการขับของเสีย หรือขับสารพิษออกจากร่างกาย เพื่อควบคุมภาวะร่างกายให้คงที่ (homeostasis) การผลิตน้ำปัสสาวะจะเป็นตัวนำพาของเสีย หรือสิ่งที่เป็นพิษโดยเฉพาะสารประกอบไนโตรเจน (nitrogenous compound) ออกจากร่างกาย จึงช่วยรักษาสมดุลของของเหลว และ อิเล็คโตรไลท์ หรือ อิออนของแร่ธาตุต่างๆ นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับระบบต่อมไร้ท่อ และ ช่วยควบคุมความดันเลือด โดยการหลั่งฮอร์โมนเรนนิน (rennin) และ สังเคราะห์ฮอร์โมนอิริโทรปอยด์ติน (erytropoitin) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง และยังเกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์ด้วย
การขับถ่ายปัสสาวะอาจจัดว่าเป็นการขับถ่ายของเสียที่สำคัญที่สุดของร่างกาย โดยเป็นการขับของเสียออกจากร่างกายในรูปของเหลว จึงมีผลให้ร่างกายต้องมีการสูญเสียน้ำในปริมาณมากตามมาด้วย เนื่องจากน้ำถูกใช้เป็นตัวทำละลายเพื่อนำพาเอาของเสียออกจากร่างกาย โครงสร้างของระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วยไต (kidneys) 1 คู่ ท่อไต หรือหลอดปัสสาวะ (ureters) 1 คู่ กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) และท่อปัสสาวะ (urethra)