Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาเครื่องมือและการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ - Coggle…
การพัฒนาเครื่องมือและการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การพัฒนาแบบสอบถาม
ข้อดีของแบบสอบถาม
ใช้กับกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ได้
วิเคราะห์และแปรผลได้ง่าย
ใช้ได้ง่าย ประหยัดเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อเสียของแบบสอบถาม
.ผู้สร้างต้องมีคำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดมาใส่ในแบบสอบถาม
ผู้ตอบอาจจะไม่ตั้งใจตอบ หรือให้คนอื่นตอบให้
ข้อมูลที่ได้อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง
ถ้าคำถามไม่ชัดเจน ผู้วิจัยอาจจะได้คำตอบที่ไม่ตรงตามความต้องการ
ถ้าคำถามเป็นแบบปลายเปิด ผู้ตอบจะไม่ค่อยเขียนแสดงความคิดเห็น
ใช้ได้กับคนบางกลุ่มที่อ่านออกเขียนได้เท่านั้น
ความหมายของแบบสอบถาม (Questionnaire)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรยาย อธิบาย สำรวจ และหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ต้องการศึกษา แบบสอบถามจึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรายงานตนเอง
การนิยามตัวแปร
นิยามเชิงทฤษฎี
ความหมายของตัวแปรนั้นตามเนื้อหา ตามแนวคิด ตามทฤษฎี เช่น การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment) หมายถึง การเสริมแรงจูงใจและพัฒนาความสามารถแก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยจัดสรรทรัยากรให้ ให้ข่าวสาร ให้โอกาส
นิยามเชิงปฏิบัติการ
ความหมายของตัวแปร มีความเป้นรูปธรรมที่ชัดเจน สามารถสังเกตได้ วัดได้ มีเนื้อหาสอดคล้องตามทฤษฎี เช่น การสร้างเสริมพลังอำนาจให้แก่ผู้เรียน หมายถึง ครูให้กำลังใจและพัฒนาความสามารถของนักเรียนชั้นม.5 โดยจัดสรรทรัพยากร ให้ข้อมูลข่าวสาร สนับสนุนและให้โอกาส
รูปแบบของแบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า (rating scale)
ข้อเสีย
.ผู้ตอบไม่ได้แสดงความคิดเห็น
.ผลการตอบอาจจะลำเอียง เกิดความคลาดเคลื่อนในการประเมิน
ถ้ามีระดับความเข้มของความรู้สึกเป็นจำนวนคี่ เช่น 3,5,7 ระดับ ผู้ตอบจะตอบระดับกลาง ทำให้ไม่ได้ข้อมูลที่แท้จริง
ลักษณะ
มีลักษณะประกอบด้วยข้อความและตัวเลือก ใช้ในการวัดเจตคติหรือความคิดเห็นมากกว่าจะใช้วัดข้อเท็จจริง
ข้อดี
มีหลากหลายรูปแบบ
ผู้ตอบไม่เบื่อ.วิเคราะห์และแปลผลได้ง่าย
เปรียบเทียบคำตอบได้
ประเมินได้ละเอียด
รูปแบบของมาตรประมาณค่า
2.แบบบรรยาย
3.แบบกราฟ
4.แบบใช้สัญลักษณ
แบบตัวเลข
การสร้างมาตรประมาณค่า
.ถ้าเป็นมาตรวัดเจตคติ ควรมีข้อความทั้งที่เป็นด้านบวกและด้านลบ
กรณีที่เป็นการประเมินคุณค่า ควรมีเกณฑ์กำหนดให้ชัดเจน
พิจารณาผลด้วยการวิเคราะห์รวมเฉลี่ย ในกรณีที่เป็นการวัดเจตคติ หรือวิเคราะห์รวมเฉลี่ยเป้นด้านในกรณีการวัดอื่นๆ
รวบรวมประเด็น ตัวแปร กิจกรรม พฤติกรรมหรือตัวบ่งชี้ ของสิ่งที่ต้องการจะวัดให้ครบถ้วน
แบบทดสอบ
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
เลือกประเภทของแบบทดสอบที่จะวัด
เขียนข้อทดสอบ
นิยามพฤติกรรมที่จะวัดให้ชัดเจน
ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ
ทำตารางวิเคราะห์เนื้อหา จะทำให้ทราบว่าต้องสร้างข้อสอบวัดเนื้อหาหรือพฤติกรรมอะไร กี่ข้อ ตารางวิเคราะห์ช่วยให้สร้างแบบทดสอบได้ตรงตามเนื้อหาและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิเคราะห์หาคุณภาพของข้อสอบเป็นรายข้อ และคุณภาพทั้งฉบับ.
ปรับปรุงแก้ไข
ลักษณะแบบทดสอบที่ดี
เขียนให้ถูกต้อง
มีความเป็นปรนัย
ต้องมีอิสระจากกัน
สร้างให้ตรงกับพฤติกรรมที่จะวัด
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
2.เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล (tools)
-แบบสอบถาม - แบบทดสอบ - แบบวัดมโนทัศน์
3.ตัวผู้วิจัย
1.นวัตกรรม (innovation)