Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (The Theory of Consumer Behavior) - Coggle Diagram
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
(The Theory of Consumer Behavior)
การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร์
🔴 การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์รวมถึงการนำสินค้าและบริการมาใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตเป็นสินค้าและบริการอื่น ๆ
กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (Law of diminishing Imarginal utility)
ผู้บริโภคบริโภคสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อรรถประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับจากสินค้าแต่ละหน่วยที่บริโภคเพิ่มขึ้นจะลดลงตามลำดับจนมีค่าเป็น 0 และติดลบน้อยที่สุด
ประเภทของผู้บริโภค
กลุ่มที่
2️⃣
ผู้บริโภคมีศักยภาพในการซื้อคือบุคคลที่พร้อมจะซื้อสินค้าหรือบริการ แต่ยังได้รับการจูงใจหรือข้อมูลในสินค้าหรือบริการยังไม่เพียงพอ
ผู้บริโภคที่เป็นบุคคลที่แท้จริงคือบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือบริการจากร้านค้าใดร้านค้าหนึ่งเป็นประจำสม่ำเสมอ
ผู้บริโภคไม่แท้จริงคือบุคคลที่ไม่มีความต้องการในสินค้าหรือบริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต
กลุ่มที่ 1️⃣
บุคคล
คือ ซื้อสินค้าไปใช้ในครัวเรือนของเขาเช่นหรือแป้งสบู่นี้ต้องเป็นบุคคลสุดท้ายไม่ใช่นำไปผลิตหรือขายต่อ
องค์กร
คือ นิติบุคคลที่จัดตั้งโดยวัตถุประสงค์มุ่งแสวงหากำไรหรือไม่แสวงหากำไรจัดซื้อค้าหรือบริการไว้ในกิจการของตนเองเช่นซื้อเครื่องใช้สำนักงานหรือซื้อเครื่องจักรไว้ผลิตสินค้าซื้อวัตถุดิบไปผลิตสินค้าให้เป็นสินค้าสำเร็จรูป
กลุ่มที่
4️⃣
ผู้บริโภคที่เป็นผู้คาดหวังคือบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่
นักการตลาดต้องการจะเข้าถึงทั้งนี้เพราะมี
ปัจจัยหลายประการที่สอดคล้องกับสินค้าของเขาเช่นผลิตภัณฑ์ของขบเคี้ยวขนมอบกรอบเด็กมักชอบรับประทานนักการตลาดจึงมุ่งโฆษณาไปยังกลุ่มเด็กเพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการซื้อ
กลุ่มที่
3️⃣
ผู้บริโภคที่เป็นอุตสาหกรรมคือธุรกิจที่ซื้อสินค้าหรือบริการไปขายต่อหรือผลิตต่ออีกทอดหนึ่ง
ผู้บริโภคที่เป็นครัวเรือนคือบุคคลที่มีอำนาจซื้อสินค้าหรือบริการไว้ให้สมาชิกในครอบครัวใช้เช่นแม่บ้าน
โมเดลพฤติกรรมผู้บริโภค
จุดเริ่มต้นของการทำความเข้าใจกับพฤติกรรมของผู้ซื้อคือการศึกษาถึง
"โมเดลสิ่งกระตุ้นและการตอบสนอง"
👌
อรรถประโยชน์
อรรถประโยชน์ (utility)
คือความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการอรรถประโยชน์ที่ผู้บริโภคแต่ละคนได้รับ
ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค
อรรถประโยชน์
หน่วยสุดท้าย
หรืออรรถประโยชน์
หน่วยเพิ่ม
Marginal utility: MU
⚪อรรถประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น 1 หน่วยหรือความพึงพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าในหน่วยที่เปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มหรือลดการบริโภคก็ตาม
ค่าอรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้ายมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
MUn = TU-TUn-1
อรรถประโยชน์
รวม
Total utility: TU
⚪ อรรถประโยชน์รวมที่ผู้บริโภคได้รับสินค้าจากการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละหน่วยหรือความพอใจทั้งหมดที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหรือบริการในจำนวนต่างๆในเวลาใดเวลาหนึ่ง
ดุลยภาพของผู้บริโภค
สถานการณ์ซึ่งผู้บริโภคไม่มีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงจำนวนการซื้อสินค้าและบริการอีกต่อไปรวมถึงจำนวนสินค้าและบริการที่ผู้บริโภคทำการบริโภคนั้นก่อให้เกิดความพอใจสูงสุดแก่ผู้บริโภค
ซื้อสินค้าเพียง
ชนิดเดียว
ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้าแต่ละหน่ายเมื่ออรรถประโยชน์ที่ได้รับจากสินค้ามากกว่าอรรถประโยชน์ของเงินที่จ่ายออกไป
กำหนดให้อรรถประโยชน์ของ
เงิน1️⃣ บาทเท่ากับ 1️⃣ ยูทิล
ซื้อสินค้า
มากกว่าหนึ่งชนิด
ผู้บริโภคซื้อสินค้าหลายชนิดจากเงินที่มีอยู่จำนวนหนึ่งผู้บริโภคจะแบ่งเงินไปซื้อสินค้าแต่ละชนิดจนกระทั่งอรรถประโยชน์ของเงินหน่วยสุดท้ายหรือเงินบาทสุดท้ายที่ใช้ซื้อสินค้าแต่ละชนิดมีค่าเท่ากัน
ราคาสินค้าเท่ากัน
ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบอรรถประโยชน์ของสินค้าแต่ละชนิดได้เลย
ราคาสินค้าไม่เท่ากัน
การพิจารณาต้องปรับให้ราคาสินค้าทุกชนิดเท่ากับ 1
เรียกค่าที่ได้ว่าอรรถประโยชน์ของเงินหน่วยท้าย marginal utility of expenditure: MUE ที่ใช้ซื้อสินค้า
MUE A = MU A /NP A
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคโดยใช้ทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลำดับหรือการวิเคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference curve theory)
เส้นที่แสดงจำนวนต่างๆของสินค้าตั้งแต่ 2️⃣ ชนิดขึ้นไป ที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากันภายใต้
งบประมาณ จำกัด จำนวนหนึ่ง
ลักษณะของเส้น Indifference curve
1.เส้นที่ทอดลงจากซ้ายไปขวาคือมีความชันเป็นลบ (negative slope)
แสดงว่าผู้บริโภคได้รับสินค้าอย่างหนึ่งสุดลงเขาต้องเพิ่มการบริโภคสินค้าอีกอย่างหนึ่งจึงจะชดเชยความพอใจเท่าเดิม
2.เส้นความพอใจเท่ากันต์ตกันเองไม่ได้
คือ MRS มีอัตราลดลงเรียกว่า "หลักการลดน้อยถอยลงของอัตราการทดแทนระหว่างสินค้าเพื่อสินค้า y"
3. เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด convex to the origin
คือเนื่องจากอัตราทดแทนของสินค้าทั้งสองชนิดไม่สมบูรณ์โดยอัตราทดแทนหน่วยสุดท้ายของการบริโภค MRs มีอัตราลดลง
4. เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา Budget Line or Price Line: BL
คือ พื้นที่แสดงส่วนประกอบของสินค้า 2 ชนิดที่ผู้บริโภคสามารถซื้อได้ด้วยเงินที่มีอยู่อย่าง จำกัด จำนวนหนึ่งทุกจุดบนเส้นงบประมาณจะใช้เงินหมดพอดี
การเปลี่ยนแปลงของเส้นงบประมาณ
รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนโดยราคาสินค้าทั้งสองชนิดค่าคงที่
ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงโดยรายได้คงที่
ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium
)
การที่ผู้บริโภคจัดสรรเงินที่มีอยู่ไปซื้อสินค้าในสัดส่วนให้ได้รับความพอใจสูงสุด