Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาเครื่องมือและการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้, image,…
การพัฒนาเครื่องมือและการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การนิยามตัวแปร
นิยามเชิงทฤษฎี
ความหมายของตัวแปรตามแนวคิดทฤษฎี
นิยามเชิงปฏิบัติการ
ความหมายของตัวแปรที่เป็นรูปธรรมชัดเจน สังเกตได้ วัดได้
แบบสอบถาม
เครื่องมือเก็บข้อมูลที่มุ่งบรรยาย อธิบาย สำรวจ และหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ต้องการศึกษา
ข้อดี
:ใช้ง่าย สะดวก ประหยัดเวลา ใช้กับกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ วิเคราะห์แปลผลได้ง่าย
ข้อจำกัด
:คำถามอาจไม่ชัดเจน และคำตอบที่ได้อาจไม่ชัดเจน คำถามปลายเปิดไม่ค่อยมีคนตอบ
แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า
แบบตัวเลขแบบบรรยาย แบบใช้สัญลักษณ์ แบบกราฟ
การสร้างมาตรประมาณค่า
รวบรวมประเด็นตัวแปรกิจกรรมพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของสิ่งที่ต้องการวัดให้ครบถ้วน
มาตรวัดเจตคติควรมีข้อความทั้งที่เป็นด้านบวกและด้านลบ
กรณีที่เป็นการประเมินคุณค่าควรมีเกณฑ์กำหนดให้ชัดเจนในการประเมินค่าระดับต่างๆ
พิจารณาผลด้วยการวิเคราะห์รวมเฉลี่ย
แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
คือเครื่องมือที่ใช้เพื่อวัดความรู้ ทักษะ ความรู้สึก สติปัญญา ประสบการณ์ในเรื่องที่เรียนไปแล้ว ซึ่งให้ผลเป็นตัวเลข
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
ทำตารางวิเคราะห์เนื้อหา
นิยามพฤติกรรมที่จะวัดให้ชัดเจน
เลือกประเภทของแบบทดสอบ
เขียนข้อทดสอบ
ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญและทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
วิเคราะห์หาคุณภาพของข้อสอบเป็นรายข้อและคุณภาพทั้งฉบับ
ปรับปรุงแก้ไข
ลักษณะแบบทดสอบที่ดี
ตรงกับพฤติกรรมที่จะวัด
ทุกข้อต้องมีอิสระจากกัน
ทุกข้อต้องเขียนให้ถูกต้องตามหลักภาษา
มีความเป็นปรนัย
ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ
แบบทดสอบวัดความถนัด
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
นวัตกรรม
สื่อสิ่งประดิษฐ์
ชุดการสอน
เทคนิควิธีการ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบวัดมโนทัศน์
แบบทดสอบ
ผู้วิจัย
การหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ความตรง Validity
ความตรงตามเนื้อหา หาค่า IOC จากผู้เชี่ยวชาญ ค่าIOC ที่เหมาะสม = 0.5 ขึ้นไป
ความสอดคล้องหรือความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่องที่วัด
ความเที่ยง Reliability
การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า คือการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่นๆในฉบับเดียวกันหรือไม่ มีค่าตั้งแต่ 0-1 ค่าที่เหมาะสม = 0.7 ขึ้นไป
ความคงเส้นคงวาหรือความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดซ้ำด้วยเครื่องมือและตัวอย่างเดิม
เด็กกลุ่มเดียวกันต้องตอบใกล้เคียงกันไม่กระจัดกระจาย
ความยาก Difficulty
สัดส่วนของผู้ตอบข้อสอบได้ถูกในจำนวนผู้ตอบทั้งหมด ค่าที่เหมาะสม =0.50
ค่าอำนาจจำแนก Discrimination
ประสิทธิภาพของข้อคำถามในการจำแนกกลุ่มผู้ตอบออกเป็นกลุ่มต่างๆ ค่าที่เหมาะสม = 0.20 ขึ้นไป
ความเป็นปรนัย Objectivity
ความชัดเจนของแบบทดสอบที่สื่อให้เข้าใจตรงกัน มีเกณฑ์การให้คะแนนที่แน่นอน
การหาคุณภาพประสิทธิภาพสื่อการสอน
เกณฑ์มาตรฐาน E2/E2 เป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการประเมินกระบวนการเรียนการสอนกับคะแนนที่ได้จากการสอบครั้งสุดท้าย
คุณภาพของเครื่องมือในด้านอื่นๆ
ความยากง่ายพอเหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
ความยาวพอเหมาะกับเวลา และกลุ่มเป้าหมาย
สามารถแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาได้
การลำดับข้อคำถามที่เหมาะสม
วิธีการที่จะช่วยลดความคลาดเคลื่อนจากการวัด
ด้านเครื่องมือวิจัย
ตั้งคำถามสอดคล้องกับคำนิยามเชิงปฏิบัติการ
เขียนคำชี้แจงในการตอบให้ชัดเจนเข้าใจง่าย
ถ้าเครื่องมือมีความซับซ้อนต้องจัดทำคู่มือการใช้
รูปแบบการจัดวางเนื้อหาจัดให้สวยงาม เรียบร้อย ขนาดอักษรพอเหมาะ
อ่านง่าย
เรียบเรียงภาษาถูกหลักไวยากรณ์
ด้านผู้วิจัย
ทำความเข้าใจวิธีการใช้เครื่องมือ
คำนึงถึงความพร้อมของตัวอย่าง
มีจรรยาบรรณการวิจัย
ชวัลลักษณ์ 027