Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิธีการและเครื่องมือวัดผล, นางสาวนิสรีน พูนสิน รหัสนักศึกษา 624110024…
วิธีการและเครื่องมือวัดผล
2.แบบสัมภาษณ์ :pen:
หมายถึง การสนทนา หรือเจรจาโต้ตอบกัน อย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ตามจุดมุ่งหมายที่ได้วางไว้
ประเภทของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างหรือไม่เป็นทางการ
3.การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ตัวอย่างการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์งาน
การสัมภาษณ์รับเข้ามหาวิทยาลัย
การสัมภาษณ์รับทุนการศึกษา
5.แบบสอบถาม :pen:
รูปแบบของคำถามเป็นชุด ๆ ที่ได้ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ
ทางการศึกษาใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับการสัมภาษณ์
ความคิดเห็น
ความรู้สึก
เช่น ข้อเท็จจริง
8.แบบบันทึกพฤติกรรม :pen:
แบบบันทึกพฤติกรรมเป็นระเบียนที่ครูหรือผู้แนะแนวใช้บันทึก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนแต่ละคนในสถานการณ์เฉพาะเป็นครั้งคราว
รูปแบบของแบบบันทึกพฤติกรรม
แบบที่หนึ่ง เป็นแบบที่ไม่มีการตีความหมายของพฤติกรรม
แบบที่สอง แบบที่มีการตีความหมายพฤติกรรม
แบบที่สาม เป็นแบบที่ครูหลายคนสามารถบันทึกรวมกันได้
12.การประเมินโดยเพื่อน :pen:
เป็นเทคนิคการประเมินอีกรูปแบบหนึ่งที่น่าจะนำมาใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงคุณลักษณะของงาน ที่มีคุณภาพ
แบบประเมินผลที่ใช้เพื่อน ๆ เป็นผู้ประเมินจึงมี 2 แบบคือ
เทคนิคการเดา
เช่น ข้อ 1 ใครที่มีส่วนช่วยเหลือท่าน เมื่อท่านขาดเรียน
ข้อ 2 เมื่อท่านต้องการความช่วยเหลือ ใครไม่เคยช่วยท่านเลย
เทคนิคสังคมมิติ
ใช้เมื่อต้องการทราบความสัมพันธ์ ระหว่างเพื่อน ๆ นักเรียนด้วย กันเองในชั้นเรียน
วิธีการวัดและการประเมิน
ระบุงานที่มอบหมายหรือกิจกรรมให้นักเรียนได้รับทราบถึงประโยชน์ของการประเมินโดยเพื่อน
พิจารณางานชิ้นใหญ่ๆ แล้วแบ่งงานออกไปเป็นส่วนย่อยๆ
ออกแบบและกำหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน
แนะนำการใช้เกณฑ์การประเมินให้แก่นักเรียน
ตรวจสอบว่าการประเมินโดยเพื่อนที่นักเรียนได้รับมอบหมายใช้ได้ถูกต้อง
14.การประเมินโดยใช้กิจกรรมโครงงาน :pen:
การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางเน้นการลงมือปฏิบัติให้ความสำคัญกับพัฒนาการผลงาน
องค์ประกอบของเกณฑ์การประเมินผลงาน
การวางแผนการทำโครงงาน
วิธีการดำเนินงานโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
3.แบบทดสอบ :pen:
การทดสอบเป็นวิธีการวัดผลที่ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ประเภทของแบบทดสอบ
แบ่งตามสมรรถภาพของการวัด
แบ่งตามรูปแบบของการถามตอบ
แบ่งตามลักษณะการสอบ
รูปแบบของแบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบเติมคํา
แบบทดสอบแบบจับคู่
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ
แบบทดสอบแบบถูก-ผิด (True – False Test)
แบบทดสอบอัตนัย
10.การประเเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน :pen:
เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน
โดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน
เป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน
7.มาตราส่วนประมาณค่า :pen:
ใช้สร้างเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประเภท แบบสอบถาม มีลักษณะคำถามคล้ายกับแบบสำรวจรายการ
ลักษณะของมาตราส่วนประมาณค่า
ระดับความเข้มข้นให้ผู้ตอบเลือกตอบตามความคิดเห็น เหตุผล สภาพจริง
ระดับที่ให้เลือกอาจมีเฉพาะด้านบวก หรือมีเฉพาะด้านลบ หรือมีทั้งด้านบวก และด้านลบในชุดเดียวกัน
ลักษณะของมาตราส่วนประมาณค่า
ถ้าแบ่งตามลักษณะคำตอบอาจแบ่งได้ 4 แบบ
แบบกราฟิก (Graphic Rating Scale)
แบบกราฟิก (Graphic Rating Scale)
แบบตัวเลข (Numerical Rating Scales)
แบบใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Rating Scale)
4.แบบตรวจสอบรายการ :pen:
เป็นมาตรที่ใช้วัดพฤติกรรมโดยมีรายการให้ตรวจสอบ เป็นการสร้างแบบทดสอบจากการสังเกต
วิธีการสร้าง
กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต
กำหนดและอธิบายการกระทำหรือพฤติกรรมที่ชัดเจน
เขียนรายการ (ข้อความ) ที่บ่งชี้การกระทำหรือพฤติกรรมอ
จัดเรียงรายการที่แสดงลำดับของการกระทำหรือพฤติกรรม
นำไปทดลองกับสถานการณ์จริง และนำมาปรับปรุงแก้ไข
การนำไปใช้
แสดงออกของความรู้สึกโดยตรง เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา
เป็นเครื่องมือที่นำไปวัดด้านจิตพิสัย
11.การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ :pen:
เป็นรูปแบบการบันทึกการเขียนอีกรูปแบบหนึ่งที่ให้ผู้เรียนเขียนตอบ
ลักษณะการเขียนที่สะท้อนการเรียนรู้
การเขียนสะท้อนความคิดในรูปแบบการสนทนากับตนเอง (Dialogic reflection)
การเขียนสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical reflection)
การเขียนบรรยายสะท้อนเหตุผล (Descriptive reflection)
การเขียนบรรยาย (Descriptive)
13.การประเมินภาคปฏิบัติ :pen:
เป็นการทดสอบชนิดหนึ่ง ที่ให้ผู้ถูกทดสอบได้แสดงการกระทำออกมาในขณะทดสอบสถานการณ์ ที่จัดขึ้น
โดยจะวัดทั้งวิธีการ (Process) และ/หรือผลงาน (Product) ที่ได้จากการปฏิบัติ
ลักษณะแบบทดสอบการวัดภาคปฏิบัติ
ลักษณะงานที่ให้ทำแตกต่างกัน วิธีการวัดย่อมแตกต่างกัน
การวัดภาคปฏิบัติสามารถวัดกระบวนการและผลงานได้ทั้งแยกจากกันหรือรวมกัน
การวัดภาคปฏิบัติสามารถกระทำได้ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
การวัดผลการปฏิบัติงานอาจแยกออกได้3 ระดับ
ระดับผลลัพธ์ (Outcome)
ระดับประสิทธิผล (Effectiveness)
ระดับพฤติกรรม (Behavior)
ชนิดของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติของมาแชร์ (Marshall. 1971 : 139 - 141)
แบบทดสอบแบบจำลองสถานการณ์
แบบทดสอบตัวอย่างงาน
แบบทดสอบในการจำแนกแยกแยะ
6.การจัดอันดับคุณภาพ :pen:
เป็นเครื่องมือมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดอันดับความสำคัญ
หรือจัดอันดับคุณภาพ
ประโยชน์ของแบบจัดอันดับคุณภาพที่สําคัญ
ทําให้การประเมินค่าสิ่งที่เป็นนามธรรมมีความถูกต้อง เหมาะสมมากขึ้น
เป็นแบบวัดที่ช่วยในการประเมินผลพฤติกรรมของผู้สังเกตได้
เป็นแบบวัดที่สามารถนําคุณลักษณะของนักเรียนมาเปรียบเทียบกันได้
9.สังคมมิติ :pen:
เป็นวิธีการศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคลกับกลุ่มคนที่อยู่ในสังคมเดียวกัน
วิธีการใช้สังคมมิติ
นำไปศึกษาสาเหตุของความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเพื่อนในห้องเรียน
นำผลที่ได้จากสังคมมิติมาใช้ในการจัดชั้นเรียน
นำไปศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์ภายในกลุ่มว่าประกอบไปด้วยกี่กลุ่มย่อย
ใช้ในการคัดกรองผู้เรียนที่มีปัญหาในการปรับตัวทางสังคม เช่น ผู้เรียนที่ไม่ได้รับการยอมรับหรือ ถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
ใช้ในการศึกษาพัฒนาการและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของกลุ่ม หรือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
ลักษณะสังคมมิติ
เป็นลักษณะสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และเพื่อน เป็นสัมพันธภาพที่มี อิทธิพลต่อการเรียน และการใช้ชีวิตของผู้เรียน
15.การตรวจผลงาน :pen:
ใช้ตรวจสอบพฤติกรรมให้เห็นผลสัมฤทธิ์จากเรียนรู้ออกมาในเชิงรูปธรรม
เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝึกหัด ผลการปฏิบัติงาน ผลผลิตชิ้นงาน ภาระงานโครงงาน
หลักเกณฑ์ในการตรวจผลงาน
ชิ้นงานแต่ละชิ้นที่นำมาประเมินไม่จำเป็นต้องเป็นเรื่องเดียวกัน
ครูผู้สอนไม่จำเป็นต้องนำผลงานทุกชิ้นมาประเมิน
1.แบบสังเกต :pen:
เป็นเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลประเภทการปฏิบัติหรือพฤติกรรม สำหรับวัดผลพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
ประเภทของการสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
เครื่องมือที่จะใช้ประกอบการสังเกต
มาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale)
การจัดอันดับ (Ranking)
แบบสำรวจรายการ (Checklist)
การบันทึกเรื่องราว (Anecdotal record)
นางสาวนิสรีน พูนสิน รหัสนักศึกษา 624110024 สาขาวิชาสังคมศึกษา