Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อพัฒนาการเรียนรู้,…
แนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติบรรยาย Descriptive statistics
เป็นสถิติที่ใช้ในการบรรยาย อธิบายลักษณะต่างๆของกลุ่ม
ไม่ใช้ในการสรุปอ้างอิงไปยังประชากร
การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง mean median mode การวัดการกระจาย พิสัย SD
ใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง
สถิติอนุมาณ
(Inferential Statistics)
เป็นสถิติที่ใช้ในการสรุปอ้างอิงค่าสถิติต่างๆที่เกิดขึ้นในกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาไปยังกลุ่มประชาชนของกลุ่มตัวอย่างนั้น
ความถูกต้องในการอ้างอิงขึ้นอยู่กับคุณภาพของการสุ่มตัวอย่างขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
ค่าเฉลี่ยคือค่าที่คำนวณได้จากการนำผลรวมของข้อมูลทั้งหมดมาหารด้วยจำนวนทั้งหมด
มัธยฐานคือค่าของข้อมูลที่อยู่นะตำแหน่งกลางของชุดข้อมูล
ฐานนิยมคือค่าของข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
มาตราการวัด (Measurement scales) เป็นการกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องการศึกษาภายใต้กฎเกณฑ์ที่แน่นอนการแปรค่าของตัวแปรไม่ว่าจะเป็นตัวแปรใดก็ตามจะแปรตามมาตรฐานการวัดประเภทใดประเภทหนึ่ง
มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) ตัวอย่าง น้ าหนัก ส่วนสูง
มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) ตัวอย่าง- เพศ แบ่งเป็น หญิง และ ชาย
มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) บอกได้แค่ว่าใครดีกว่าใคร
มาตราอันตรภาคหรือช่วง (Interval Scale) ตัวเลขศูนย์เป็นค่าที่กำหนดขึ้นเท่านั้น เช่น คะแนนสอบ อุณหภูมิ
แนวทางการนำเสนอผลการวิจัยในบทที่ 4และบทที่ 5
บทที่ 4 ผลการวิเคราะข้อมูล
เป็นการนำเสนอผลของการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอน
ให้ความหมายค่าสถิติที่ได้และสรุปผลการทดลองสมมุติฐานว่าสอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมุติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้
สรุปความหมายของผลการวิเคราะห์
อ่านค่าสถิติที่ได้จากการวิเคราะห์โดยการบรรยายให้รายละเอียดข้อมูลจากค่าสถิติที่ได้อย่างชัดเจนและแปลผลระดับแปลความทางสถิติ
เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์เพื่อใช้การตอบคำถามการวิจัยแต่ละตอนว่ามีความสอดคล้องหรือขัดแย้งกันอย่างไร
นำเสนอในลักษณะแผนภูมิแผนภาพหรือกราฟพร้อมทั้งประกอบคำบรรยายโดยใช้ภาษาที่ง่าย
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
การสรุปผลการวิจัย
เป็นการเขียนสรุปยอดความบทที1,3,4 เป็นการสรุปความสำคัญของการศึกษาครั้งนี้และวัตถุประสงค์ของการศึกษาต่อด้วยประชากรกลุ่มตัวอย่างขอบเขตการศึกษาเครื่องมือวิจัยวิธีเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลปิดท้ายด้วยสรุปผลการศึกษา
การอภิปรายผลการวิจัย
เป็นการยืนยันประเมินขยายความผลการวิจัยของเราให้เป็นที่ยอมรับ ซึ่งอธิบายตามหลักวิชาการ
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไปคือเป็นข้อเสนอแนะต่อผู้อ่านว่าควรทำประเด็นปัญหาอะไรเพิ่มเติมควรศึกษาตัวแปรใดเพิ่มเติม
ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ เป็นข้อเสนอแนะที่ผู้อ่านสามารถนำวิจัยที่ได้ไปทำอะไรใช้ประโยชน์อะไร