Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน, นางสาววริศราวัลย์…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ลักษณะ
วัยที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
อายุ 20 ถึง 40 ปี
มีการเจริญเติบโตทางร่างกายสมบูรณ์ที่สุด
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
เป็นช่วงวัยที่ร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง หรือที่เรียกว่า วัยทอง
อาการต่างๆ ของหญิงและชายวัยทอง
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านชีววิทยา
ได้แก่ เส้นผมจะเริ่มร่วง หยาบขึ้น และขาวแซมเห็นชัดประปราย อาการเหล่านี้ปรากฏมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น สายตายาว ความล้าทางสายตาจะเกิดเร็วขึ้น
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์
ชายและหญิงที่ประสบความสําเร็จในอาชีพการงาน
จะมีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถพัฒนาตนและการเข้าสู่พัฒนาการ ในช่วงชีวิตวัยทองได้อย่างมีวุฒิภาวะ
กลุ่มชายและหญิงที่ ไม่ประสบความสําเร็จในอาชีพการงานรวมไปถึงคนที่ไม่มีความมั่นคงทางจิตใจและอารมณ
จะมีความวิตกกังวล ความหวั่นไหวทางอารมณ์ จะรู้สึกน้อยใจ บางคนอาจก้าวร้าวในคําพูด หรือมีพฤติกรรม
ภาวะวัยทองของผู้หญิง มักจะอยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป
ผู้ชายโดยส่วนใหญ่เข้าสู่วัยทอง อาจเริ่มต้นเมื่ออายุ 50 ปี
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง
ปัญหาพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
มีพฤติกรรม ทางเพศ มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน ออกกําลังกายน้อยหรือไม่ได้ออกกําลังกาย ขาดการพักผ่อน อย่างเพียงพอ มีวิธีจัดการความเครียดไม่เหมาะสม รับประทานอาหาร ตามความชอบ
การดําเนินชีวิตประจําวันดังกล่าว มีผลทําให้เกิดโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูง
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
สาเหตุ
พฤติกรรมของผู้ใช้รถใช้ถนน การละเลยไม่ปฏิบัติตาม กฎจราจร การดื่มเหล้าก่อนการขับรถ
การเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาที่พบได้บ่อย
ความเหนื่อยล้าจากการทํางานที่ยาวนาน
ความผิดพลาดของเครื่องจักร
ผู้ปฏิบัติงานขาดความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
สาเหตุ
การติดเชื้อ การเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังต่างๆ
พฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม
ขาดการออกกําลังกาย
รับประทานอาหารไม่เหมาะสม
มีความเครียดสูงสะสมเรือรัง
ปัญหาสุขภาพจิต
เป็นวัยทํางานและสร้างครอบครัว สร้างฐานะ
เป็นวัยที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบทั้งชีวิตครอบครัว หน้าที่การงาน มีการปรับเปลี่ยนบทบาท ต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมที่อาจส่งผลให้เกิดความเครียดได้ตลอดเวลา
ปัญหาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในวัยทอง
เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย ตามวัยและการลดการผลิตฮอร์โมนเพศ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตสมรส
สาเหตุ
เกิดจากปัญหาของบุตร ปัญหาการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเกี่ยวกับการเงินและการสร้างฐานะ ปัญหาความขัดแย้งในการใช้ชีวิตร่วมกัน
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
ประสบความล้มเหลวในการประกอบอาชีพ ครอบครัวอาจมีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่มากขึ้น
มีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งกายและใจด้วย และมักจะกระทบกระเทือนต่อสัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัว
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูบุตร
มักเป็นปัญหาของบุตรวัยรุ่นซึ่งเป็นวัย ที่ต้องการความอิสระ ต้องการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อการดําเนินชีวิตในอนาคต
ปัญหาการปรับตัวของคนโสด
ปัญหาที่พบ
ความรู้สึกโดดเดียวขาดการสนับสนุนทางสังคม
ค่านิยมของสังคมไทยมีความคาดหวังให้ผู้หญิงดูแลพ่อแม่หรือผู้สูงอายุ ซึ่งอาจทําให้ผู้หญิงโสดดังกล่าวรู้สึกหงุดหงิด อึดอัด ไม่มีเวลาเป็นของตนเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล
กรรมพันธุ์ การเจ็บปุวยบางชนิดมีการถ่ายทอดทางยีนส์
การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
การเจ็บป่วยบางชนิดเกี่ยวข้องกับเพศ
พฤติกรรมสุขภาพ
มีพฤติกรรมการดําเนินชีวิตประจําวันที่ไม่เหมาะสมทําให้เกิดการเจ็บปุวยเรื้อรัง
วัฒนธรรม
ความเชื่อและศาสนาซึ่งสืบทอดกันมามีผลต่อความคิดการตัดสินใจและพฤติกรรมของคนในสังคมนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นผลทั้งในทางบวกและในทางลบต่อสุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่เป็นหมอกควัน ทําให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
บริเวณที่มีแดดจัดอาจจะเกิดโรคมะเร็งของผิวหนัง
คนที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่แออัด อาจจะเกิดโรคได้ง่าย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุตสาหกรรม
ระบบช่วยเหลือสนับสนุน
ปัจจัยนี้จะช่วยให้คนมีภาวะสุขภาพได้ทั้งดีและไม่ดี คนที่มี ระบบช่วยเหลือสนับสนุนหรือแหล่งประโยชน์ที่ดี
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางหลังจากที่ค้นพบว่า การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังในปัจจุบันมีอิทธิพลมาจากพฤติกรรมที่ไม่ได้คํานึงถึงภาวะสุขภาพ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างเสริม
สุขภาพช่วยทําให้มนุษย์เข้าใจและใช้ความรู้ดังกล่าวมาช่วยแก้ไขพฤติกรรมต่างๆที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพ
การรับประทานอาหาร
การออกกำลังกาย
การนอนหลับ การพักผ่อนและการมีกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
การจัดการความเครียด
การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
การรับประทานยาเพื่อควบคุมโรคเรื้อรัง
บทบาทของพยาบาลพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ
ประเมินปัญหาสุขภาพ
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การสนับสนุนให้เกิดนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพในระดับต่างๆ
นางสาววริศราวัลย์ วสุพลวัตร รหัส 634N46133