Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hospital Acquired Pneumonia หญิงไทย อายุ 65 ปี - Coggle Diagram
Hospital Acquired Pneumonia
หญิงไทย อายุ 65 ปี
ความหมาย
ปอดอักเสบที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยหลังจากเข้ารักษาตัว
ในโรงพยาบาล 48 ชั่วโมง โดยไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
Pneumonia
การที่ปอดได้รับอันตรายจากการติดเชื้อหรือจากสาเหตุอื่น ส่งผลให้เนื้อปอดซึ่งประกอบด้วยหลอดลมฝอยส่วนปลายสุดและถุงลมเกิดการอักเสบอย่างเฉียบพลันและบวม ทำให้ของเหลวซึ่งประกอบดวยพลาสมาและเม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า exudates เข้าไปอยู่ในถุงลม เนื้อปอดจึงเกิดการแข็ง
สาเหตุ
เกิดจากภาวะภูมิต้านทานต่ำ
เกิดจากการสำลักเอาเชื้อเข้าปอด (Aspirated pneumonia)
เกิดจากเชื้อรา
เชื้อที่พบมากที่สุด ได้แก่ Psudomonase, enterobacter, saure
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียน เช่น Streptococcus pneumonia
เกิดจากเชื้อไวรัส พบว่ามีจำนวน Lymphocytes ขึ้นสูง
สารเคมี
สาเหตุส่งเสริมทำให้
เกิดโรคเร็วขึ้น
เป็นโรคปอดมาก่อน
โรคภูมต้านทานต่ำ เช่น HIV
โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หัวใจวาย
มีการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
มีการติดเชื้อ เช่น ไข้หวัด โรคปอด
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยมี เสมหะจำนวนมาก
เชื้อที่อยู่ในเสมหะในทาง
เดินหายใจส่วนต้นจะแพร่เข้าสู่ถุงลม
ถุงลมมีการป้อง
กันตามปกติ
การโบกปัดของซิเลีย
การไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไป
แมกโครฟาจจะทำลายเชื้อโรคที่อยู่ในถุงลม และซิเลียจะโบกปัดออกโดยการไอ เพื่อขับเชื้ออออกทางเสมหะหรือกลืนลงกระเพราะอาหาร
ร่างกายไม่มีกลไกการป้องกัน ปอดมีการอักเสบ โดยมีสารน้ำและเสมหะหรือเมือกเพิ่มขึ้น
เมื่อเสมหะหรือเมือกมากขึ้นบริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอย
เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ขจัดเชือโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดเพื่อขจัดออกนอกร่างกาย
เม็ดเลือดขาวและเม็ด
เลือดแดงรวมตัวกัน
บริเวณที่อักเสบทากขึ้น
ทำให้บริเวณถุง
ลมแคบและแข็ง
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงติดต่อกัน หนาวสั่น
ตัวร้อน
หน้าแดง
หายใจหอบเหนื่อย
ไอมีเสมหะ เป็นหนอง
เจ็บหน้าอก
มีเสมหะในปอด
ปวดเมื่อยตามตัวและข้อ
ปวดท้อง
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
การตรวจร่างกาย
On Tracheostomy with ventilator mode VCV, PCV, SPONT สลับ Collar mask ถึง 20:00 น
V/S : BT 38-39 C, PR 114 bpm, RR C/20 bpm, BP 126/81 mmHg, O2 sat 100%
มีแผลกดทับที่บริเวณศีรษะเกรด 1, มีแผลกดทับที่บริเวณก้นเกรด 2
ฟังเสียงปอดพบเสียง Crepitation both lung
GCS : E1VTM1 = 2 คะแนน
Motor power grade 0
ตาขวาต้อกระจก, ตาซ้าย pupil 3 mm reaction to right
มีเสมหะปริมาณมาก
ประวัติการเจ็บป่วย
CC
Refer จากโรงพยาบาลชนบท มาด้วยอาการไข้สูง หายใจหอบเหนื่อย มีเสมหะมากขึ้น
PI
1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดขาทั้ง 2 ข้าง ปวดมากขึ้น ได้ไปพบแพทย์ที่ clinic ได้รับยาแก้วปวดมากิน อาการไม่ดีขึ้น
28 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดศีรษะ อาเจียน 3-4 ครั้ง ปวดขาทั้ง 2 ข้างมากขึ้น ได้ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลขอนแก่น ได้ตรวจ CT brain พบ Left cerebellar hemorrhage ได้รับการรักษา Right frontal external ventricular drainage, Right frontal venticolostomy tracheostomy มีไข้สูง 38-39 C มีเสมหะมาก เหนียวข้น ได้ตรวจ CXR พบ patchy infiltration แพทย์วินิจฉัย Pneumonia ได้ step ATB เป็น Clidamycin และ refer กลับโรงพยาบาลชนบท
1 วันก่อนมารพ. มีไข้สูง เสมหะมากขึ้น หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น จึง refer มารักษาที่โรงพยาบาลขอนแก่น
PH
HT, Dyslipidemia
ผลตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
H
WBC 20.5 10^3/uL
L
RBC 3.29 10^6/uL
L
Hb 8.6 g/dL
L
Hct 25.9 %
L
MCV 78.7 fL
H
Neutrophil 86.5%
L
Lymphocyte 8.9%
L
Potassium 3.04 mmol/L
L
Chloride 96 mmol/L
H
CO2 36.3 mmol/L
H
Lactate 4.50 mmol/L
ABG : Metabolic alkalosis
PTT 22.2
H
Pt 14.4
H
INR 1.27
CXR : patchy infiltration
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะติดเชื้อที่ปอด
เสี่ยงต่อภาวะพร่องโภชนาการเนื่องจากได้รับสาร
อาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัวลดลงเนื่องจากมีเลือด
ออกในสมอง
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
พร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่องจากความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
มีแผลกดทับเนื่องจากผู้ป่วยไม่มีการเคลื่อนไหวของ
ร่างกาย
พร่องออกซิเจนเนื่องจากติดเชื้อที่ปอด
เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากประสิทธิภาพการแข็งตัวของเลือดลดลง
มีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
การรักษาที่ได้รับปัจจุบัน
Thiamine 100 mg IV q 8 hr
Omipazole 40 mg q 6 hr
Meropenem 1 g + NSS 100 ml IV drip in 3 hr
Cloxacillin 1 g IV q 6 hr C Stat
On Tracheostomy with ventilator mode VCV, PCV, SPONT สลับ Collar mask ถึง 20:00 น
BD (1.2:1) 350 ml x 4 feeds