Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการศึกษา, นางสาวณัฐมล ยิ่งยง เลขที่5 - Coggle Diagram
ทฤษฎีการศึกษา
ทฤษฎีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย
อาร์โนลด์ กีเซล
หลักพัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์มีทิศทาง
มนุษย์มีลักษณะต่อเนื่อง
มนุษย์เป็นไปตามลำดับขั้น
มนุษย์ต้องอาศัยวุฒิภาวะและการเรียนรู้
มนุษย์แต่ละบุคคลมีอัตราแตกต่างกัน
เครื่องวัดพัฒนาการเด็ก
พฤติกรรมทางการเคลื่อนไหว
พฤติกรรมทางปรับตัว
พฤติกรรมทางการใช้ภาษา
พฤติกรรมด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
ด้านอารมณ์
ซิกมันด์ ฟรอยด์
การทำงานของจิต
จิตสำนึก
จิตก่อนสำนึก
จิตไร้สำนึก
ขั้นตอนการพัฒนา
ความพอใจอยู่บริดวณปาก
ความพอใจอยู่บริเวณทวารหนัก
แสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศ
ความสุขจากสิ่งแวดล้อม
ความสุขจากแรงกระตุ้น
เครื่องมือวัดความฉลาดทางอารมณ์
EQ
ตระหนักรู้ในตนเอง
บริหารจัดการกับอารมณ์ตนเอง
การจูงใจตนเอง
การรู้จักสังเกตความรู้สึกของผู้อื่น
ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น
ด้านสังคม
อีริกสัน
การศึกษาไปข้างหน้า
เน้นถึงสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
โคลเบิร์ก
ระยะที่1
ก่อนมีการมีวิจารณญาณทางศีลธรรม
ระยะที่2
มีวิจารณญาณทางศีลธรรม
ระยะที่3
หลังการมีวิจารณญาณทางศีลธรรม
แบนดูรา
กระบวนการดึงดูดความสนใจ
กระบวนการคงไว้
กระบวนการแสดงออก
กระบวนการจูงใจ
มาสโลว์
ความต้องการทางร่างกาย
ต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ได้รับการยกย่องนับถือ
ต้องการความสำเร็จ
ด้านสติปัญญา
เพียเจต์
ความรู้แตกต่าง
สิ่งตรงกันข้าม
รู้หลายระดับ
ความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง
ผลของการกระทำ
ทดแทนอย่างลงตัว
กระบวนการทางสติปัญญา
ซึมซับหรือการดูดซึม
ปรับและจัดระบบ
เกิดความสมดุล
บรุนเนอร์
โครงสร้างสติปัญญา
Enactive representation
Iconic representation
Symbolic representation
แนวคิด
ระดับอนุบาลและประถมต้น
ระดับประถมปลาย
ระดับมัธยมศึกษา
โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์
สติปัญญาด้านภาษา
ด้านตรรกและคณิตศาสตร์
ด้านมิติสัมพันธ์
ด้านร่างกาย
ด้านดนตรี
ด้านมนุษยสัมพันธ์
ด้านตน หรือการเข้าใจตนเอง
การรักธรรมชาติ
การดำรงชีวิต
บลูม
จุดมุ่งหมายการเรียนรู้
ด้านพุทธิพิสัย
ด้านทักษะพิสัย
ด้านเจตพิสัย
ทฤษฎีการเรียนรู้
พฤติกรรมนิยม
ธอร์นไดค์
การเรียนรู้ของแมวมีลักษณะลองผิดลองถูก
พาฟลอฟ
สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข
การตอนสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข
สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข
การตอนสนองที่ต้องวางเงื่อนไข
วัตสัน
ชาวอเมริกัน
แนวคิด
Pavlov
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
กัทธรี
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี
การทดลอง
กฎการเรียนรู้
ความต่อเนื่อง
การกระทำครั้งสุดท้าย
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้เพียงครั้งเดียว
หลักการจูงใจ
พุทธินิยม
ทฤษฎีสนาม
ทฤษฎีเกสตัลท์
Max wertheimer
kurt Lewin
Wolfgang kohler
Kurt Koffka
ทฤษฎีเครื่องหมาย
ทอลแมน
ผู้เรียนมีการคาดหมายรางวัล
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ สถานที่
ปรับการเรียนรู้ของตนตามสถานที่
ไม่แสดงออกทันที
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
เพียเจีต์
พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
พัฒนาการบุลคล
ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กต่างจากผู้ใหญ่
กระบวนการทางสติปัญญา
การซึมซับและการดูดซึม
การปรับและจัดระบบ
การเกิดความสมดุล
บรุนเนอร์
การเรียนรู้ค้นพบด้วยตัวเอง
จัดโครงสร้างความรู้
จัดหลักสูตรและการเรียนการสอน
คิดแบบหยั่งรู้
แรงจูงใจภายใน
พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์
การเรียนรู้จากการกระทำ
การเรียนรู้จากความคิด
การเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม
ทฤษฎีการเรียนอย่างมีความหมาย
ออซูเบล
การเรียนรู้สามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
มนุษย์นิยม
Maslow
ด้านร่างกาย
ความมั่นคงปลอดภัย
ความรักและความเป็นเจ้าของ
การเป็นที่ยอมรับ
การตระหนักในความสามารถ
ต้องการที่จะรู้ที่จะเข้าใจ
ต้องการทางด้านสุนทรียะ
Rogers
Combs
Knowles
Freire
จัดระบบการศึกษา
Illich
ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้
Neil
ให้เสรีภาพอย่างสมบูรณ์
ผสมผสาน
โรเบิร์ต กานเย
ประเภทการเรียนรู้
แบบสัญญาณ
สิ่งเร้า การตอบสนอง
แบบเชื่อมโยง
ทางภาษา
ความแตกต่าง
ความคิดรวบยอด
เรียนรู้กฏ
เรียนรู้การแก้ปัญหา
สมรรถภาพการเรียนรู้
ข้อเท็จจริง
ทักษะเชาวน์ปัญญา
ยุทธศาสตร์ในการคิด
ทักษะการเคลื่อนไหว
เจตคติ
หลักการจัดการศึกษา
สร้างความสนใจ
แจ้งจุดประสงค์
กระตุ้นผู้เรียน
เสนอบทเรียนใหม่
แนวทางการเรียนรู้
ให้ลงมือปฏิบัติ
ให้ข้อมูลป้อนกลับ
ประเมินพฤติกรรม
ส่งเสริมความแม่นยำ
นางสาวณัฐมล ยิ่งยง เลขที่5