Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system) - Coggle Diagram
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)
อวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
ปากและช่องปาก
คอหอย (pharynx)
หลอดอาหาร (esophagus)
ลำไส้เล็ก (small intestine)
กระเพาะอาหาร (stomach)
ลำไส้ใหญ่ (large intestine, colon)
การเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหาร
การกลืน (Swallowing, deglutition)
ระยะที่อยู่ในปาก
ทำงานในอำนาจจิตใจภายใต้การควบคุมของสมองใหญ่
ระยะที่อยู่บริเวณคอหอย
เมื่ออาหารตกลงมาถึงคอหอยไม่สามารถยุติการกลืนได้
ระยะที่อยู่ในหลอดอาหาร
เชื่อมคอหอยกับกระเพาะอาหารอยู่ในช่องอก
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
การหดตัวนำ
มีความกว้างคงที่อีก2-3 วินาที่
การหดตัวตาม
หดตัวได้แรงทำให้อาหารผสมคลุกเคล้ากับน้ำย่อยได้อย่างทั่วถึง
แกสทริน (gastrin)
เป็นเพปไทด์ จัดอยู่ในกลุ่ม gastrin/CCKfamily
ผลิตจากเซลล์จี
เส้นประสาทที่ควบคุมทางเดินอาหาร
เส้นประสาทที่ควบคุมส่วนนอก
(extrinsic nerve innervation)
ทำงานภายใต้อำนาจจิตใจ
โดยเส้นประสาทกายที่ควบคุม
การทำงานของปาก ช่องปาก ช่องคอหลอดอาหารส่วนต้นและ
หูรูดชั้นนอกของทวารหนักซึ่งมีผนังเป็นกล้ามเนื้อลาย
เส้นประสาทที่ควบคุมส่วนใน
(intrinsic nerve innervation)
ทำงานนอกอำนาจจิตใจถูกควบคุม
โดยระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทเอ็นเทอริก
ระบบซิมพาเทติก
ระบบพาราซิมพาเทติก
โคลีซิสโทไดนิน (cholecystokinin : CCK)
จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันกับแกสทริน
สร้างจากเชลล์ไอ
การขับถ่ายอุจจาระ(defecation)
ควบคุมด้วยประสาทอัตโนมัติ
กากอาหารที่เหลือจากการย่อย
จะถูกลำเลียงผ่านที่ลำไส้ใหญ่
ลำไส้จะบีบตัวเพื่อให้กากอาหารเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลำไส้ตรง
และขับถ่ายสู่ภายนอกร่างกายทางทวารหนัก ที่เรียกว่า อุจจาระ
ปัจจัยที่ช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ
อาหารพวกเส้นใยจากพืช
กากอาหารพวกนี้จะช่วยอุ้มน้ำไว้ทำให้มีปริมาณมาก
และอ่อนตัว จึงถ่ายสะดวกขึ้น
ซีครีทิน (Secretin)
สร้างจากเซลล์เอส (S cell)
อยู่ในเซลล์ต่อมชั้นลึกของชั้น
เยื่อเมือกส่วนบนของลำไส้เล็ก
การเคลื่อนไหวของลำไส้เล็ก
ลำไส้เล็กอยู่ต่อจากหูรูดไพลอรัสถึง
ileococal valveแบ่งเป็น 3 ส่วน
ส่วนต้น Duodenum
ยาว 26 ซม. เป็นส่วนที่ไม่มีเยื่อยึดลำไส้
ส่วนกลาง Jejunum .
ยาว 2.5 ซม.
ส่วนปลาย Ileum
ยาว 3.5 ซม.
การเคลื่อนไหวของลำไส้เล็กแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ
การเคลื่อนไหวในขณะท้องว่าง
ลำไส้เล็กจะเคลื่อนไหวบีบตัวต่อเนื่อง จากของกระเพาะอาหารบีบตัวจากส่วนต้นสู่ส่วนปลายเป็นชุดๆ MMC
การหดตัวแบบ tonic contraction
เป็นการหดตัวเฉพาะที่ไม่ขึ้นกับปริมาณอาหารในลำไส้
การบีบตัวแบบเป็นปล้อง
ไม่มีการผลักดันอาหารให้เคลื่อนที่ไปมากนัก
การบีบเคลื่อน(peristalsis)
การบีบเคลื่อนไหวในลำไส้เล็กจะผลักอาหารให้เคลื่อนไหวไปตามความยาวของลำไส้เล็ก
การเคลื่อนไหวของลำไส้ใหญ่
ลำไส้ใหญ่อยู่ระหว่างไอเลียมและทวารหนัก แบ่งเป็น 3 ส่วน
1.Cecum ซีกัม
2.Vermifrom appendix ไส้ติ่งโคลอน
Rectum ไส้ตรง
การบีบตัวของลำไส้ใหญ่แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
การบีบตัวของลำไส้ใหญ่
ส่วนโคลอน และการขับถ่ายอุจจาระ
การบีบตัวของลำไส้ใหญ่
การคัดหลั่งในระบบทางเดินอาหาร (digestive secretion)
การคัดหลั่งจากต่อมน้ำลาย
(salivary secretion)
ต่อมพาโรติก (parotid gland)
สร้างน้ำลายได้ประมาณร้อยละ 25
หลั่งน้ำลายชนิดใส (serous) ซึ่งมีแอมิเลส (a-amylase หรือ ptyalin)
ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรล่าง (submaxillary gland)
เป็นต่อมผสมให้น้ำลายทั้งชนิดใสและเหนียว
สร้างน้ำลายได้ร้อยละ 70
ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น (Sublingual gland)
หลั่งน้ำลายเหนียวเท่านั้น
การหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
1.ระยะที่อาหารยังไม่ตกถึงกระเพาะอาหาร (Cephalic phase)
การหลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ 40
ระยะที่อาหารอยู่ในกระเพาะอาหาร (gastric phase)
หลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ 50
ระยะที่อาหารอยู่ในลำไส้เล็กส่วนต้น (intestinat phase)
การหลั่งกรดการหลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ 10
การควบคุมการคัดหลั่งตับอ่อน
1.ระยะสมอง (cephalic phase)
เป็นระยะที่อาหารยังไม่ผ่านถึงกระเพาะและลำไส้
ระยะที่อาหารผ่านกระเพาะแล้ว (gastric phase)
ประสาทเวกัสกระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อนเพิ่มขึ้น
ระยะที่อาหารผ่านลำไส้เล็กแล้ว (intestinal phase)
ปลายประสาทหลั่งสารสื่อประสาทอะเซทิโคลิน
สารอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรด มีพีเอชต่ำกว่า 4.5
การสร้างและการหลั่งน้ำดี (bile secretion)
ตับเป็นอวัยวะที่สร้างและหลั่งน้ำดีโดยสร้างจากโคเลสเตอรอล มีจุดประสงค์ 2 ประการ
เพื่อให้น้ำดีช่วยให้ไขมันละลายในน้ำได้ดีเอนไซม์ ไลเปสย่อยได้สะดวก
เพื่อขจัดโคเลสเตอรอลออกไปจากร่างกาย
การคัดหลั่งจากลำไส้
การหลั่งน้ำย่อยจากลำไส้เล็ก
เมื่อกระตุ้นประสาทเวกัสจะหลั่งน้ำย่อยเพิ่มขึ้น
สารอื่นที่กระตุ้นการหลั่งน้ำย่อยของลำไส้เล็ก เช่น ซีครีทิน
หลั่งน้ำและไบคาร์บอเนตกาแฟกลูคากอนและวีไอพี
การย่อยและการดูดซึม
การย่อย
สิ่งมีชีวิตบริโภคเข้าไป ไม่ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม จะนำเข้าสู่เซลล์ได้ก็ต่อเมื่ออยู่ในรูปของสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก
การดูดซึม
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
การดูดซึมน้ำตาล
การดูดซึมโปรตีน
การดูดซึมเพปไทด์
การดูดซึมไขมัน
การดูดซึมวิตามินและเกลือแร่
การดูดซึมน้ำ
การเผาผลาญอาหาร metabolism
ตับจะเผาผลาญสารอาหารต่างๆทั้งคาร์โบไฮเดรต โปรตีนไขมันและสารอาหารบางอย่างจะถูกส่งไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
กระบวนการสลาย Catabolism
เป็นกระบวนการสลาย decomposition
สารประกอบ
อินทรีย์ภายในเซลล์
ปลดปล่อยพลังงานอิสระ