Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ท่อระบายทรวงอก
Hemothorax จากการฉีกขาดของ intercostals vessels
Lung laceration จากภาวะที่มีฟังผืดในช่องเยื่อหุ้มปอด
Diaphragm/abdominal cavity penetration จากการใส่ต่ำเกินไป
Stomach/colon injury from unrecognized diaphragmatic hernia
ใส่ท่อระบายทรวงอกในชั้น Subcutaneous tissue
ใส่ท่อระบายทรวงอกลึกเกินไป ทำให้มีอาการปวด หรือมีการหัก งอของท่อ
ท่อระบายทรวงอกหลุด เนื่องจากเย็บผูกไม่แน่น
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง
ท่อระบายทรวงอกอุดตัน จากลิ่มเลือด, fibrinous exudates
Retained/ clotted hemothorax
Empyema
Pneumothorax after removal
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
เป็นกลุ่มอาการที่ทางเดินหายใจภายในปอดถูกอุดกั้น ทำให้หลอดลมตีบแคบลงหรือต้น
โรคกลุ่มนี้ ประกอบด้วย โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) และโรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema) ซึ่งจะพบร่วมกันและแยกจากกันได้ยากมาก
ผู้ป่วยที่มีอาการฉับพลัน (COPD with acute exacerbation) คือ Pt.ที่เหนื่อยมากขึ้นกว่าเดิม มีเสมหะเพิ่มขึ้น เสมหะเปลี่ยนสี อาจเกิดจากการติดเชื้อในระบบการหายใจ หรือ ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ 80-90%
การขาด Alpha 1 antitrypsin จากองค์ประกอบทางพันธุกรรม
มลภาวะทางอากาศ สารเคมี ฝุ่นละอองต่างๆ
การติดเชื้อ : chronic bronchitis
อายุ : elastic & collagen fiber ที่ช่วยให้หลอดลมฝอยไม่แฟบขณะหายใจออก ทำหน้าที่น้อยลง
Diagnosis
การตรวจสมรรถภาพปอด (Pulmonary Function Test)
ปริมาตรของอากาศที่หายใจออกอย่างรวดเร็วและแรงอย่างเต็มที่ หลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มที่ (Forced vital capacity: FVC) จะมีค่าลดลง (ค่าปกติ 4.8 ลิตร)
ปริมาตรอากาศที่สามารถหายใจออกโดยเร็วและแรงใน 1 วินาที (Force expiratory Volume ใน1 วินาที FEN1) ลดลง (ถ่าปกติ 3-3.5 ลิตร)
โดยผู้ป่วยจะต้องมีค่า FEV1/FVC ภายหลังการให้ยาขยายหลอดลมมีค่าน้อยกว่า 70% ร่วมกับปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวมาแล้ว
ระดับความรุนแรง
Mild : FEV1 > 80% ของค่ามาตรฐาน
ไม่มีอาการกำเริบของโรค
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Moderate : FEV1 = 50-80% ของค่ามาตรฐาน
มีอาการเหนื่อยเล็กน้อย
มีอาการกำเริบของโรคไม่รุนแรง
Severe : FEV1 > 30-50% ของค่ามาตรฐาน
มีอาการหอบเหนื่อยจนรบกวนกิจวัตรประจําวันได้
มีอาการกำเริบของโรครุนแรงมาก
Very severe : FEN1 < 30% ของค่ามาตรฐาน
มีอาการหอบเหนื่อยจนรบกวนกิจวัตรประจำวัน
มีอาการกำเริบของโรครุนแรงมากและบ่อย
Treatment
บรรเทาอาการของโรคให้ลดน้อยลง
การให้ยาขยายหลอดลม
การป้องกันการกำเริบของโรค
คงสมรรถภาพการทำงานของปอดไว้หรือให้เสื่อมช้าที่สุด
ช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย COPD
Educator ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาทั้งชนิดกินและพ่น แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
Change Agent ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับองค์ความรู้ทางการพยาบาล
Empowering ให้กำลังใจ สร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย
Consultation ให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาต่างๆ เพื่อให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวล
Manager เช่น ประเมินแบบแผนการนอนหลับ วางแผนควบคุมปัจจัยรบกวน
Collaborator ประสานงานกับครอบครัว และทีมสุขภาพในการวางแผนการรักษาและแผนการจําหน่าย
การจัดอาหารและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรค
ผู้ป่วยควรรับประทานครั้งละน้อยๆ แต่มีจำนวนครั้งถี่ขึ้น
ควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินซี วิตามินดี ซีลิเนียม เพราะมีสาร antioxidants ช่วยป้องกันและต่อต้านการถูกทำลายของเนื้อเยื่อปอดจาก COPD
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง และอาหารที่ทำให้เกิดก๊าช (ถั่ว กระหล่ำปลี) เพราะจะทำให้เกิดก๊าชอาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น
การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
Effective cough เพื่อช่วยขับเสมหะที่คั่งค้างออกได้ดี ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าชในปอดดีขึ้น
Pursed lip breathing การฝึกหายใจแบบเป่าปาก กับการฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมใช้สองวิธีนี้ร่วมกันจะช่วยให้ประสิทธิภาพการหายใจดีขึ้นและทำให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนมากขึ้น
Exercise การออกกำลังกายจะช่วยเพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ ลดการเกิดการกำเริบของโรคโดยการออกกำลังกายที่เหมาะสม จะต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามความสามารถของผู้ป่วย
Chronic Bronchitis
Cyanosis
มีประวัติการสูบบุหรี่
ไอ มีเสมหะ
Clubbing fingers
Respiratory Acidosis
ใช้กล้ามเนื้อ Accessory ช่วยในการหายใจ
Hemoglobin สูง
หัวใจโต
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
อาจทำให้เกิด Right Heart Failure,
เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรงทำกิจกรรม
Bilateral Pedal Edema, JVD สูงขึ้น
Hypoxia/Hypercapnia (PaCO2 สูง)