Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ
Multiple trauma
Post-operative
Neurological disease
Respiratory failure
Circulatory failure
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน
การติดเชื้อทางเดินหายใจ
การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
ความไม่สมดุลของกรดด่างที่เกิดขึ้นจากการหายใจ
การขาดสารอาหารและความไม่สมดุลน้ำ เนื่องจากการเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้น
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร ภาวะความดันโลหิตลดลง
ภาวะวิตกกังวล ความรู้สึกไม่ปลอดภัย ความกลัว ทำให้ท้อแท้ และหมดหวัง รวมทั้งความรู้สึกที่ต้องพึ่งพาผู้อื่น ไม่สามารถติดต่อสื่อสารได้ตามปกติ
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ประเมินการทำงานแวะการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับ alveolar ventilation เพียงพอ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (wearning)
ข้อบ่งชี้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
สาเหตุที่ใช้เครื่องช่วยหายใจได้รับการแก้ไข ผล X-ray ปอดดีขึ้น ปอดขยายได้ดี เสมหะลดวง ฟังเสียงหายใจปกติ
Hemodynamic ปกติและคงที่
กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจแข็งแรง
ระดับความรู้สึกตัวดี รับประทานอาหารและน้ำได้อย่างเพียงพอ ปราศจากภาวะติดเชื้อ ไข้ ซีด อ่อนเพลีย ท้องอัด
ใช้ยาแก้ปวด หรือ ยานอนหลับลดลง หรือไม่ต้องใช้เลย
การพยาบาลก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินผู้ป่วย : ผู้ป่วยดีขึ้นหรือไม่ เหตุที่ทำให้ต้องใช้การช่วยหายใจถูกแก้ไขหรือยัง ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกคงที่หรือไม่
ความพร้อมทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย โดยประเมินปัจจัยที่เป็นเหตุให้แพทย์หย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความพร้อมด้านจิตใจ
วิธีหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Conventional method เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไป โดยมองให้ออกซิเจน T-piece กรณีผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจมาไม่นานเกินไป(ไม่ควรเกิน 5 วัน)
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจทันที แล้วให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T-piece แทน
ค่อยๆ หย่าเครื่องช่วยหายใจ ให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T-tube เป็นเวลาสั้นๆ ก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มให้นานขึ้น
Intermittent mandatory method เป็นการลดอัตราการทำงานของเรื่องช่วยหายใจลงเรื่อยๆ ปล่อยให้ผู้ป่วยหายใจเอง
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งหยุดเครื่องได้
ขั้นตอนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
อธิบายผู้ป่วยให้ทราบ ให้กำลังใจและความมั่นใจว่าผู้ป่วยจะสามารถหายใจได้เอง และจะคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
เตรียมอุปกรณ์ : เครื่อง Suction, T-piece, Nebulizer, Tracheostomy mask, Ambu, เครื่องวัดความดันโลหิต, เครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยในท่าสบาย ศีรษะสูง 20 - 40 องศา
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย บันทึก N/S, conscious การมีเหงื่อออก สีผิว หนัง ABG , TV
ดูดเสมหะจากท่อทางเดินหายใจ และในปากให้โล่ง
ปลดเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยได้รับ 0, ที่มีความเข้มข้นมากกว่าทางเครื่องช่วยหายใจที่ผู้ป่วยได้รับก่อนหย่าเครื่องประมาณ 10-30%
สังเกตและบันทึก ระดับความรู้สึกตัว ว่าการกระสับกระส่าย เหงื่อออก
วัดความดันโลหิต ทุก 5 นาทีจนถึงที่ แล้ววัดทุก 15 30 นาที
นับอัตราการหายใจ ถ้ามากกว่า 30 ครั้ง/นาที รายงานแพทย์
วัด Tidal volume ด้วง » 300 ml เจาะ ABC หลังหย่าเครื่อง 15 นาที และ ทุก 1 ชั่วโมง
เมื่อผู้ป่วยมีค่า PaO2, เพียงพอ สามารถลดระดับการให้ O2 ลงเรื่อยๆ จนหายใจ Room air ได้