Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช…
บทที่ 4.1 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ความหมาย
ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการที่สมองของเด็กหยุด พัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์ เป็นความบกพร่องของการทำหน้าที่ของสติปัญญาและการปรับตัว ส่งผลให้เกิดความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่าง ๆ
การพยาบาล
1) การประเมินสภาพ (assessment)
การซักประวัติ
การประเมินด้านร่างกาย (physical assessment)
ใช้แบบคัดกรองพัฒนาการ
การตรวจสภาพจิต
การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
ไม่สามารถสื่อสารบอกความต้องการของตนเองได้เนื่องจากพัฒนาการด้านการใช้ ภาษาล่าช้า
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากอยู่ไม่นิ่งและการทรงตัวไม่ดี กล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีความกพร่องในการช่วยเหลือตนเองที่เหมาะสมตามวัยเนื่องจากพัฒนาการกล้ามเนอื้ มัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้า
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล (planning and implementation)
การช่วยเหลือครอบครัว ในระยะที่พ่อแม่มีความรู้สึกสูญเสีย เศร้าโศก
ช่วยประคับประคองจิตใจของพ่อแม่
ช่วยให้พ่อแม่ยอมรับลูกและมีความหวัง
ให้คำปรกึษาพ่อแม่ เมอื่พ่อแมผ่่านระยะของความเศร้าโศก
การป้องกันภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ระยะก่อนตั้งครรภ์
การฉีดวัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน
การรับประทานอาหารที่มีธาตุไอโอดีน
ระยะตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ การดื่มเหล้า สูบบุหรี่
การพักผ่อนให้เพียงพอ และการส่งเสริมสุขภาพจิต
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
ระยะคลอด
หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับการทำคลอดในสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐาน เพื่อ ป้องกันภาวะแทรซ้อนต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น
ระหลังคลอด
ได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัว พ่อ แม่
มีความพร้อมในการเลี้ยงดูได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ในระยะขวบปีแรก
กิจกรรมการพยาบาลต่อตัวเด็กที่มี
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะที่ 1การส่งเสริมพัฒนาการตามความสามารถของเด็ก
ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะที่ 2 การช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาที่มีปัญหาทางจิตเวช
ลักษณะที่ 3 ด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพ
4) การประเมินผล (evaluation)
ต้องมีการประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่ได้กำหนดไว้
สาเหตุ
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ดาวน์ซินโดรม (down syndrome)
กลุ่มอาการฟลาจิลเอกซ์ (flaggy X syndrome)
เฟนิลคีโตนยูเรีย (phenylketonuria)
ปัจจัยในระยะตงั้ครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ระยะคลอด
พบว่าการคลอดก่อนกำหนด เด็กทารกจะมีน้ำหนักตัวแรกคลอดต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน
ระยะหลังคลอด
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโรคทเี่กิดในวัยเด็ก เช่น โรคไอกรน โรค อีสุกอีใส โรคหัด อาจนำไปสภาวะเยอื่ทหุ้มสมองอักเสบ (meningitis)
ระยะตั้งครรภ์
ปัจจุบันพบว่าการสูบบุหรี่ จะทำให้เพิ่มโอกสการเกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญาเพิ่มขึ้น
ปัจจัยทางจิตสังคม
เด็กที่เติบโตมาท่ามกลางความยากจน ครอบครัวแตกแยกและผู้ เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิตส่ง ผลให้ด็กไม่ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ทำให้ เด็กในกลุ่มนี้มักได้รับการดูแลด้านสุขภาพไม่ดีพอมีความเสี่ยงสูงที่จะขาดสารอาหาร
ลักษณะอาการและอาการแสดง
ความบกพร่องทางสติปัญญา
(deficits in intellectual function)
ความบกพร่องของการปรับตัว (deficits in adaptive function)
เด็กจะมีลักษณะอาการ
มีพัฒนาการล่าซ้ำ
ระดับความรุนแรง
บกพร่องทางสติปัญญาเลก็น้อย
(mild intellectual disability)
ระดับ IQ 50-69 ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว
บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง
(moderate intellectual disability)
ระดับ IQ 35-49 ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง
(severe intellectual disability)
ระดับ IQ 20-34 ความผิดปกติของพัฒนาการพบได้ตั้งแต่ขวบปีแรก
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก
(profound intellectual disability)
ระดับ IQ < 20 จะพบความบกพร่องทางสติปญัญาตั้งแต่แรกเกดิ อาจมีความ พิการทางหน้าตาและร่างกายร่วมด้วย
มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา
มีปัญหาด้านพฤติกรรม
มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่ง ๆ
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัว
การบำบัดรักษา
การรกัษาโรคทางกาย
กายภาพบำบัด
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะ
กิจกรรมบำบัด
อรรถบำบัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
การพื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
การให้คำแนะนำครอบครัว
นางสาวพาทินธิดา ขำหินตั้ง รหัส 180101128