Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช โรคพฤติกรรมเกเร, …
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช โรคพฤติกรรมเกเร
การพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ความรุนแรงเนื่องจาก
มีกระบวนการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม
มีภาวะเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและ/หรือบุคคลอื่นเนื่องจาก
ไม่สามารถควบคุมอารมณ์โกรธได้
มีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่มปีระสทิธิภาพเนื่องจากครอบครัวซึ่งเป็นตัวแบบของเด็กมีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพ
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับเด็กและครอบครัว
ให้เกิดความไว้วางใจและให้ความร่วมมือในการรักษา
สื่อสารกับเด็กและครอบครัวให้ชัดเจนเกี่ยวกับพฤติกรรม
ที่ทีมสหสาขาวิชาชีพ
ฝึกสอนทักษะทางสังคม (social skills training)
ในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
ฝึกทักษะการแก้ไขปัญหา (problem solving skills training) เพื่อให้เด็กสามารถหาวิธีการ อื่นๆ ที่เหมาะะมาใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ
สอนให้เด็กรู้จักประเมินการตอบสนองต่างๆ
หลังจากที่เด็กมีความขัดแย้งกับบุคคลอื่น
ฝึกทักษะการควบคุมความโกรธ (anger management)
ดูแลช่วยเหลือให้ได้รับการอบรมพ่อแม่และฝึกปฏิบัติในการเลี้ยงดูลูก
ฝึกให้พ่อแม่สามารถเข้าใจ และแปลความหมายของพฤติกรรมต่างๆ ของลูกอย่างถูกต้อง
ฝึกให้พ่อแม่สามารถใช้เทคนิกในการเสริมแรงทางบวกแก่ลูก เช่น การชมเชย
ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีการสนับสนุนทางอารมณ์ เป็นกำลังซึ่งกันและกัน
ส่งเสริมให้ภายในครอบครัวมีเสรีภาพในการแสดงออกทางอารมณ์
ส่งเสริมดูแลให้ครอบครัวได้รับการบำบัดด้วย
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมและบริบทต่างๆ ของเด็ก
ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
การประเมินสภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์
การประเมินเด็กต้องเป็นไปในลักษณะของการที่ไม่ตัดสินเด็ก
มีการประเมินทุกมิติทั้งทางกาย วาจา จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม การรู้คิด และสังคม
ประเมินครอบครัวของเด็ก
การประเมินผล
พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลง
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดี
เด็กมีคุณภาพ ชีวิตดีขึ้น
พ่อแม่สามารถให้การเลี้ยงดูเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมาย
โรคพฤติกรรมเกเร (conduct disorder หรือ CD) อยู่ในกลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพฤติกรรม ด้วยการมีพฤติกรรมกรรม ก่อกวน เป็นปัญหา และไม่สามารถ ควบคุมอารมณ์และพฤติกรมของตนเองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได
ลักษณะอาการและอาการแสดง
มีปัญหาเกี่ยวกับการเรียน
เช่น หนีเรียน
มีพฤติกรรมไม่เชื่อฟัง
เช่น ไม่กลับบ้าน ขโมยของ โกหก ชกต่อย
หรือเสพยาเสพติด
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีวภาพ (biological factor)
สารสื่อประสาทจะมีระดับของ dopamine และ serotonin สูง
แต่มี CSF 5HAA ต่ำ
ฮอร์โมนเพศชาย ในระดับสูง
สมองส่วน paralimbic system ผิดปกติ
การที่ได้รับสารพิษตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เช่น มารดาสูบบุหรี่
ระหว่างตั้งครรภ์
มีการตอบสนองของระบบประสาทอัตโนมัติ
สติปัญญาในระดับต่ำและมีผลการเรียนไม่ดี
ยีนที่ทำให้เกิดอาการโรคสมาธิสั้น
การมีโรคความผิดปกติของการเรียนรู้ (learning disorders หรือ LD)
ปัจจัยด้านจิตสังคม (psychosocial factors)
วิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่
ได้รับความกระทบกระเทือนทางจิตใจ เช่น การถูกทำร้ายร่างกาย
ลักษณะพื้นอารมณ์ (temperament) ตั้งแต่เกิดเป็นเด็กที่เลี้ยงยาก
การไม่รับการยอมรับจากเพื่อนก็มีอิทธิพลอย่างมาก
การบำบัดรักษา
การรักษาทางจิต
การให้คำปรึกษารายบุคคล โดยมุ่งเน้นในเรื่องการฝึกให้ด็กมีทักษะในการแก้ไขปัญหาโดย ใช้สติปัญญา
ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการเรียนรู้และทักษะการเข้าสังคม
การบำบัดเพื่อเพิ่ม self-esteem
การรักษาทางสังคม
การบำบัดครอบครัว
การอบรมพ่อแม่ (parenting program)
การรักษาทางยา
พิจารณาใช้ยาประเภท antipsychotics เช่น haloperidol (haldol)
มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาหรือมีปัญหาทางสมอง (organic brain)
จะรักษาโดยให้ยา propranolol
มีโรคร่วมพวกโรคอารมณ์สองขั้ว (bipolar disorders)
จะรักษาโดยให้ยา lithium
อาการหุนหันพลันแล่น หงุดหงิดจะรักษาโดยให้ยาพวก SSRIs เช่น fluoxetine (prozac), sertraline (zoloft), paroxetine (paxil) และ citalopram (celexa)
การรักษาทางอารมณ์
การบำบัดในเรื่อง anger management
ดนตรีบำบัดในกรณีที่เด็กมีอารมณ์โกรธอย่างรุนแรง
เด็กมีอาการซึมเศร้า ก็ควรได้รับการบำบัด CBT
การบำบัดแบบจิต IPT
การรักษาทางกาย
เช่น การบำบัดการติตยาเสพติด
การบำบัดทางจิตวิญญาณ
จิตบำบัดรายบุคคล (individual psychotherapy)
กลุ่มจิต บำบัด (group psychotherapy)
:star:
นางสาวธาริณี ไหวพริบ
รหัส 180101120