Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 กลวิธีและนวตกรรมสาธารณสุข, นางสาวกุลณัฐฑ์ แซ่เจ็ง เลขที่17…
บทที่ 2 กลวิธีและนวตกรรมสาธารณสุข
วิวัฒนาการนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
พ.ศ. 2525โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง 12 หมู่บ้านใน 9 เขตทั่วไทย
พ.ศ.2525-2529 ขยายการอบรม ผสส./อสม. ให้ครอบคลุมหมู่บ้านในชนบทและสนับสนุนอบรม
และอุปกรณ์แก่อาสาสมัครให้มีความรู้ความชำนาญเฉพาะและจัดทำโครงการต่างๆ
พ.ศ. 2523 ไทยลงนามกฎบัตรเพื่อพัฒนาสนับสุนสาธารณสุขมูลฐาน ให้บรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า ในปี 2543
พ.ศ. 2530-2534พัฒนาระบบบริการ มีกองทุนบัตรสุขภาพ
พ.ศ. 2520-2525 เริ่มดำเนินการแผนงานสาธารณสุขมูลฐาน
พ.ศ.2535-2539 บัตรประกันสุขภาพโดยสมัครใจ,ตั้งศูนย์สาธารณสุขมูลฐานในสังคม,ทศวรรษการแพทย์แผนไทย
พ.ศ. 2507-2509 โครงการสารภีโดยประชาชนมีส่วนร่วม (ผสส./อสม.)
พ.ศ. 2540-2544 ปี2543ต้องบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าและปี2544เป็นปีแห่งการบรรลุคุณภาพชีวิตของประชาชน
พ.ศ.2505 โครงการอาสาสมัครมาลาเรีย
พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน สุขภาพดีถ้วนหน้า,ดูแลสุขภาพประชาชนที่บ้าน,โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ,เมืองหน้าอยู่,
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ,การรับรองสุขภาพรพ. ฯลฯ
นวัตกรรม
อมร นนทสุต (2550) นวัตกรรมคือการสร้างหรือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิม ซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์
ประเภทของนวัตกรรม
นวัตกรรมกระบวนการ เป็นเครื่องมือช่วยในการวางแผน การบริหารจัดการและขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
นวัตกรรมการบริการ เช่น การพัฒนาระบบการให้การบริการในคลินิกแบบ One stop service
นวัตกรรมผลผลิต เช่น ยา เวชภัณฑ์ เทคโนโลยีใหม่ๆ หรือความรู้ใหม่ที่นำมาใช้ตรวจรักษาหรือควบคุมโรค
แนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
แต่ละพื้นที่แตกต่างกัน ต้องใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่นั้นๆ
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
นวัตกรรมต่างๆล้วนสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน และสามารถส่งผลกระทบเชิงพัฒนาต่อกันได้
การสาธารณสุขมูลฐานเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชน
นวัตกรรมที่หลากหลายเปรียบเสมือนเครื่องมือนานาชนิดที่ถูกคิดค้นขึ้น
เน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมทำ
การเกิดและคิดค้นนวัตกรรมต่างๆมากมาย
มีการดำเนินการยืดหยุ่นตามยุทธศาสตร์
ความตื่นตัวในการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐา
ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter)
การสร้างความแข็งแรงของชุมชน
การส่งเสริมพัฒนาการทักษะส่วนบุคคล
ด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมทั้งเอื้อต่อสุขภาพ
ด้านการปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข
นโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ
การพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้นส่วนด้านสุขภาพ
เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้พยาบาล
เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจและการมีคุณค่าของพยาบาลในการให้บริการ
เพื่อพัฒนามาตรฐานในการพยาบาล
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการพยาบาลอนามัยชุมชน
คิดค้นแนวทางการพัฒนานวัตกรรม
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสุขภาพ
กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
การวิเคราะห์ปัญหานวัตกรรมสาธารณสุข
ระดับข้าราชการส่วนภูมิภาค
ถ่ายทอดความรู้ผิดเพี้ยน
เจ้าหน้าที่ขาดคุณภาพ
การรับคำสั่งในแต่ละเรื่องไม่ตรงกัน
ระดับส่วนกลาง
งานส่วนใหญ่เป็นงานเร่งรัด
ขาดการเตรียมการที่ดี
ขาดการเตรียมการที่ดี
ระดับประชาชน
ประสิทธิภาพองค์กรผู้นำชุมชนไม่ดีพอ
ไม่มีโอการตัดสินใจรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม
มีความเข้าใจนวัตกรรมไม่ชัดเจนเพียงพอ
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
เชื่อว่าประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองทางสาธารณสุขมูลฐานได้ระดับหนึ่ง
และให้คำปรึกษาประชาชนที่ยังขาดความรู่
เข้าใจความสัมพันธ์ของปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ปฏิบัติงานแบบผสมผสานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆเป็นทีมได้
มีความสามารถบริหารจัดการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด
เข้าใจ เห็นความจำเป็นและความสำคัญของนวัตกรรม
มีความสามารถในการให้ความรู้แก่บุคคลอื่นๆ
ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนได้อย่างดี
มีความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ให้ความสำคัญต่อชุมชน
มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาโดยใช้สติอย่างรอบคอบ
เพื่อให้การแก้ไขปัญหาประสบความสำเร็จเร็วขึ้น
มีทัศนคติที่ดีต่อชุมชน พร้อมตอบสนองความต้องการ
สามารถศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง พี่งตนเองได้
นางสาวกุลณัฐฑ์ แซ่เจ็ง
เลขที่17 รหัสนักศึกษา 611001402369