Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุข, นายยุทธนา ธาตุแสง เลขที่48…
บทที่3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุข
สุขภาวะ
หมายความว่า ภาวะที่บุคคลมีร่างกายแข็งแรง มีอายุยืนยาว มีจิตใจที่ดี มี ความเมตตากรุณา ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ดาเนินชีวิตอย่างมีสติสัมปชัญญะ และใฝ่รู้ สามารถ “คิดเป็นทาเป็น” มีเหตุมีผล อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข การมีสุขภาวะเป็นเรื่องที่ เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นองค์รวม โดยเริ่มจากตนเอง ไปสู่ครอบครัว ชุมชนวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การศึกษา เศรษฐกิจสังคม การเมือง และอื่นๆ
การสาธารณสุข (WHO, 2014)
หมายถึง มาตรการจัดระเบียบทั้งหมด (ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน) เพื่อป้องกันโรคและ
ส่งเสริมสุขภาพคน รวมทั้งยืดอายุของประชากรโดยรวม เป็นกิจกรรมที่มุ่งมั่นที่จะให้คนสามารถมี สุขภาพดีและมุ่งเน้นไปที่ประชากรทั้งหมด ไม่ได้อยู่ในผู้ป่วยแต่ละรายหรือเฉพาะโรคเท่านั้น
ชุมชน (Community)
คอมมูนอล = Communal = การทางานโดยชุมชนเพื่อชุมชน
คอมมอน = Common = การที่สมาชิกอยู่ร่วมด้วยกัน
คอมมูน=Commune=การที่สมาชิกมีความรู้สึกผูกพันใกลชิดกัน
แบ่งประเภทของชุมชนในทางสังคมวิทยาได้ 2 ประเภท คือ
ชุมชนเมือง (Urban Communities)
ชุมชนชนบท (Rural communities)
การดาเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน ด้านการบริหารจัดการ
1) การวางแผนงาน และจัดระบบการทางานให้เหมาะสมสอดคล้องกับกาลังคน งบประมาณ ทรัพยากร เพื่อให้เกิดระบบการจัดสรรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทั้งนี้ต้องสอดคล้องกับนโยบายของรัฐกาหนด รวมทั้ง นโยบายทิศทางของสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพที่ไม่หยุดนิ่ง
2) การดาเนินงาน เป็นการดาเนินงานตามแผนงานตั้งแต่การประสานงาน การดาเนินงาน การควบคุม ติดตามงาน นิเทศงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด
3) ประเมินผล เป็นการประเมินผลการดาเนินงานทั้งหมด ว่าผลลัพธ์ที่ได้เป็นไปตามประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้หรือไม่
การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน ด้านวิชาการ
1) หน้าที่พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาการของตนเอง ได้แก่ การศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น การอบรม เฉพาะทาง และการใช้กระบวนการวิจัยเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาความเชี่ยวชาญเพื่อ พัฒนาด้านการให้บริการให้มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน
2) หน้าที่การให้ความรู้วิชาการในการดูแลสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชนการพัฒนาความรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม(ParticipatoryActionResearch:PAR)ซึ่งเปิดโอกาสให้ ประชาชนเป็นผู้ร่วมวิจัยการพัฒนานวัตกรรมการดูแลสขุภาพร่วมกับคนในชุมชน โดยต่อ ยอดองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิม ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือการสร้างนวัตกรรมสขุภาพใหม่
การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน ด้านบริการ
การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
การฟ้ืนฟูสภาพ
สาธารณสุขพื้นฐาน (Basic Health Service)
1) การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation or People Involvement)
2) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology)
3) การปรับระบบบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Re-oriented Basic Health Service)
4) การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่น (Intersectoral Collaboration)
องค์ประกอบขับเคลื่อนระบบสุขภาพภาคประชาชน
1.คน สร้างความร่วมมือ กระตุ้นให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของมีความรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
2.องค์ความรู้ ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีศักยภาพด้านความรู้และทักษะด้านการดูแลสุขภาพตนเอง
3.ทุน สนับสนุนแหล่งทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ทุนทางสังคม นามาใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพของประชาชน วางแผนจัดหาแหล่งทุน การบูรณาการการทางานร่วมกันของ องค์กรและเครือข่ายต่าง ๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน
นายยุทธนา ธาตุแสง เลขที่48 รหัส611001402840