Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม : แนวคิดและการประยุกต์ใช้ - Coggle Diagram
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม : แนวคิดและการประยุกต์ใช้
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม
ความรู้และประสบการณ์
(knowledge and experience)
ทฤษฎีจริยศาสตร์ได้กล่าวถึงหลักการ แนวคิดที่เกี่ยวกับหลักจริยธรรม
คุณค่า
1.คุณค่าตีกรอบของปัญหาและคนจะมองปัญหา
บนพื้นฐานของคุณค่าที่นำมาสู่สถานการณ์
2.คุณค่าทำให้เกิดทางเลือกที่ว่ามนุษย์พิจารณาแล้ว ว่าเป็นปัญหาที่มีแนวทางแก้ไข และจะตัดสินบนพื้นฐานของ คุณค่าที่นำไปสู่การกระทำที่เป็นไปได้
3.คุณค่าเป็นตัวตัดสินโดยตรงหรือเป็นการให้
เหตุผลในการแก้ปัญหา/การส่งเสริมคุณค่า
1)คุณค่าส่วนบุคคล(Personalvalue)
แสดงถึงแรงจูงใจที่ทำให้บุคคลตัดสินใจเลือกกระทำ
2)คุณค่าทางวัฒนธรรม
(Cultural value) คุณค่าทางวัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยน
เช่นความเชื่อเรื่องการไม่ดื่มน้ำเย็นเมื่อมีไข้สูง
3) คุณค่าทางวิชาชีพ
(Professional Value)คุณค่าทางวิชาชีพที่เป็นคุณค่าทางจริยธรรม
เช่น ความซื่อสัตย์ สุจริต ความยุติธรรม ความรับผิดชอบ
การทำความกระจ่างของคุณค่า(valuesclarification)
จุดมุ่งหมายเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ทำให้การตัดสินใจเกิดจากที่บุคคลหรือกลุ่มได้ผ่านการวิเคราะห์ประเมินในความเชื่อหรือคุณค่านั้นมาก่อนแล้ว
เป็นกระบวนการหรือวิธีการที่ให้บุคคลตระหนักรู้ในตัวเอง สิ่งใดที่บุคคลให้ความสำคัญหรือให้คุณค่า และจัดลำดับความสำคัญของคุณค่าว่าคุณค่าใดสำคัญมากที่สุด
ความไวต่อประเด็นจริยธรรม
(Mora sensitivity)
ประกอบด้วย การรับรู้และอารมณ์ความรู้สึกและความเอื้ออาทร
เป็นความสามารถของบุคคลในการรับรู้ว่าในสถานการณ์นั้นมีปัญหาทางจริยธรรมเกิดขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อสิ่งใดบ้าง ใครบ้างที่เกี่ยวข้อง
เช่น ญาติผู้ป่วยมาแจ้งว่าเงินในกระเป๋าสตางค์ของผู้ป่วยหายไปในขณะนอนหลับ พยาบาลได้รับรู้แล้วว่ากำลังเผชิญกับปัญหาทางจริยธรรม
การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
(Moral reasoning)
เน้นไปที่ผลลัพธ์ของการกระทำมากกว่าการกระทำ
เช่น การบอกความจริงแก่ผู้ป่วยถ้าการบอกความจริงแล้วทำให้
ผู้ป่วยหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นส่วนมากไม่มีความสุขก็ไม่ควรบอกเป็นเหตุผลของการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่จะไม่บอกความจริงมากกว่าการบอกความจริง
ต้องมีการวิเคราะห์สถานการณ์รวมถึงคุณค่าของบุคคลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดมาพิจารณาว่าคุณค่าใดมีความสำคัญมากที่สุดในสถานการณ์
กรณีศึกษา
แนวทางการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
3.การพิจารณาทางเลือกในการปฏิบัติ
การรักษาความลับของผู้ป่วยเป็นการพิทักษ์สิทธิและปกป้องสิทธิตามหลักจริยธรรมข้อ 3.การเคารพความเป็นอิสระ
สนับสนุนการตัดสินใจให้แก่ผู้ป่วย หรือยึดเวลาในการตัดสินใจของผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยพร้อม ข้อ 5.การพูดหรือบอกความจริงเป็นการให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในการตัดสินใจ
ตามสิทธิของผู้ป่วยข้อ 6 ที่ว่าผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลตนเอง
เว้นแต่ ผู้ป่วยจะยินยอมจากผู้ป่วยและเป็นไปตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อ 4การรักษาความลับของผู้ป ่วยไม่เปิดเผยความลับก่อนได้รับอนุญาต
หาวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับทารกและสามีหรือปรึกษาแพทย์และขอให้แพทย์เป็นผู้บอกกับสามีและญาติและข้อ 6 ความซื่อสัตย์ซึ่งครอบคลุมถึงการปกปิดความลับและความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วยและแนวคิดทางจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล
4.การวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดตามมาในแต่ละ
แนวทางที่จะปฏิบัติ
พยาบาลบอกความจริงเกี่ยวกับผลเลือดมีการ
ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์กับสามีพ่อแม่สามีและญาติของผู้ป่วย
ข้อดี
1) รู้วิธีการดูแลผู้ป ่วยและลูกในท้อง
2) ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเพศสัมพันธ์
3) ผู้ป่วยได้รับการดูแลจากสามีพ่อแม่สามีและญาติถ้าทุกคนยอมรับได้
ข้อเสีย
1) สามีพ่อแม่สามีและญาติไม่ยอมรับ มีผลกระทบต่อผู้ป่วยและลูกในครรภ์และความสัมพันธในครอบครัว
2) พยาบาลไม่ยึดหลักจริยธรรมข้อ 3 ข้อ5 และข้อ 6 ไม่ปฏิบัติตามจรรยา
บรรณวิชาชีพข้อ4ไม่ยึดหลักสิทธิของผู้ป่วยข้อ6และแนวคิดทางจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลข้อ 1.
พยาบาลไม่บอกความจริงตามที่ผู้ป่วยขอร้อง
ดผลดีแก่ผู้ป่วย คือ สามีพ่อแม่สามี
และญาติดีใจได้ลูกและหลานตามที่ต้องการ
ผลเสีย
ลูกที่เกิดมาอาจมีปัญหา สามีอาจติดเชื้อจากภรรยาทางเพศสัมพันธ์ ผู้ป่วยอาจเกิดความเครียดที่ต้องปกปิดความลับไว้ตลอดเวลา
2.กำหนดประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
ิทธิของผู้ป ่วยในการรักษาความลับกับ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
เคารพในการตัดสินใจของผู้ป่วยกับทัศนคติ
ของพยาบาล
บอกหรือไม่บอกความจริงตามที่ผู้ป่วยขอร้อง
เคารพในการตัดสินใจของผู้ป่วยกับอันตราย
ที่จะเกิดขึ้นกับทารกและสามี
5.การประเมินผล
ถ้าไม่บอกความจริง ให้เวลาผู้ป่วยในการตัดสินใจด้วย ตนเองหรือยึดเวลาให้ผู้ป่วยได้ทบทวนตัวเอง ที่ดีคือผู้ป่วยเป็นผู้บอกความจริงทั้งหมดกับสามีและญาติด้วยตนอง
1.เก็บรวบรวมข้อมูลให้มากที่สุด
ความต้องการของผู้ป่วย ความเชื่อ วุฒิภาวะ
สัมพันธภาพกับสามีและพ่อและแม่ของสามีและผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
“หญิงตั้งครรภ์รายหนึ่งได้มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล พบว่า ผลเลือดที่ตรวจออกมามีการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ สอบถามจากหญิงตั้งครรภ์บอกว่า ตนเองโดนผู้ชายที่ไม่รู้จัก ข่มขืน ก่อนที่จะมาแต่งงานกับสามีคนนี้ ตนเองไม่ทราบว่าได้ติดเชื้อเอชไอวีจากผู้ชายที่มาข่มขืน หญิงตั้งครรภ์ได้ขอร้องพยาบาลห้องฝากครรภ์ไม่ให้แจ้งเรื่องนี้ให้สามีและญาติของตนทราบ ไม่อยากทำให้สามีและพ่อแม่ของสามีเสียใจ เพราะพวกเขาอยากได้หลานเพราะเป็นหลานคนแรก จึงไม่อยากให้มารับรู้อะไรตอนนี้
รูปแบบของการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
1.เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง คือ ทำตามที่ผู้ป่วย
ขอร้อง
2.เน้นแพทย์เป็นศูนย์กลาง คือให้แพทย์เป็นผู้บอกกับสามีและญาติโดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้ป่วย
3.เน้นหน่วยงานเป็นศูนย์กลาง คือ ยึดเวลาในการตัดสินใจของผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยพร้อม เป็นการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาล หน่วยงานและผู้ป่วย
การประยุกต์ใช้
พยาบาลอาจนำทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งหรือใช้ร ่วมกันในการประเมินความถูกต้องหรือความไม่ถูกต้องทางจริยธรรมและใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาปัจจัยต่างๆที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจเชิงจริยธรรม หลักจริยธรรม
หลักจริยธรรมที่สำคัญ
การเคารพความเป็นอิสระของผู้ป ่วยในการตัดสินใจ
การทำในสิ่งที่ดีและมีประโยชน์
ความเมตตากรุณา เอื้ออาทรแก่ผู้ป่วย การไม่ทำอันตรายต่อ
ผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ความยุติธรรมและความเสมอภาค
การรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง
พยาบาลต้องเข้าใจในหลักการของทฤษฎีจริยศาสตร์ที่สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจ
พยาบาลใช้หลักจริยธรรมในกระบวนการตัดสินใจเชิงจริยธรรมข้อ 3 ในการพิจารณาทางเลือกในการปฏิบัติซึ่งต้องอธิบายการกระทำตามหลัจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
กระบวนการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
3.การพิจารณาทางเลือกในการปฏิบัติ(Considerthe choices of action) ฃหาแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
4.การวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดตามมาใน
แต่ละแนวทางที่จะปฏิบัติ การนำแนวทางปฏิบัติมาวิเคราะห์เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้
2.การกำหนดประเด็นขัดแย้ง (State thedilemma)
นำปัญหามากำหนดเป็นประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
5.การตัดสินใจเลือกและลงมือปฏิบัติ
การตัดสินใจทางจริยธรรมของพยาบาลต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับ
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อให้ได้ปัญหาและสาเหตุของปัญหา
ใช้รูปแบบ
ของ4คำถาม
1.เรื่องราวที่อยู่เบื้องหลังของความขัดแย้งในคุณค่า เกิดมาอย่างไร นำไปสู่เรื่องใด
3.ความสำคัญของความขัดแย้งเกี่ยวข้องกับบุคคลใด
4.ควรจะทำอย่างไร
2.ความสำคัญของคุณค่าที่เกี่ยวข้องนำคุณค่าของบุคคลทั้งหมดมาพิจารณาร่วมกัน
รูปแบบการตัดสินใจเชิงจริยธรรมและการประยุกต์ใช้
3.แบบการตัดสินใจที่เน้นกฎเกณฑ์ของหน่วยงานเป็นศูนย์กลาง เน้นที่นโยบายและแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานนั้นๆเป็นหลักแต่ทั้งนี้ยังคงไว้ซึ่งสิทธิของผู้ป่วยและความรับผิดชอบตามพันธะหน้าที่แห่งวิชาชีพ
2.การตัดสินใจที่เน้นแพทย์เป็นศูนย์กลางย์แพทย์เป็นผู้มีอำนาจในการวางแผนและสั่งการรักษาซึ่งทั้งนี้ต้องให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ป่วยและความสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างแพทย์กับพยาบาลและพยาบาลกับผู้ป่วย
1.การตัดสินใจที่เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เป็นการรักษาสิทธิ์และปกป้องสิทธิ์ของผู้ป่วยยคำนึงถึงความต้องการของผู้ป่วยงแม้ว่าจะเกิดความขัดแย้งกับบุคลากรทางการแพทย์อื่น