Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีและนวัตกรรมสาธารณสุข, นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง เลขที่ 27 รหัส…
กลวิธีและนวัตกรรมสาธารณสุข
ประเภทของนวัตกรรม
นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation)
นวัตกรรมการบริการ (Service model innovation)
นวัตกรรมผลผลิต (Product innovation)
แนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
การดำเนินการนวัตกรรมต้องคำนึงถึงสภาวการณ์ที่แตกต่างกันของพื้นที่
การสาธารณสุขของประเทศได้ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้แนวคิดสาธารณสุขมูลฐาน
นวัตกรรมต่างๆ ล้วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
การสาธารณสุขมูลฐานเป็นกระบวนการพัฒนาชุมชน เน้นหนักกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
นวัตกรรมเปรียบเสมือนเครื่องมือที่ถูกคิดค้นเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
การเน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นเรื่องคุณภาพที่จะต้องพิถีพิถันในทุกขั้นตอน
การเกิดและคิดค้นนวัตกรรมต่างๆทำให้เจ้าหน้าที่สับสน
การดำเนินการที่จะทำให้เกิดการปรับตัวได้อย่างยืดหยุ่นตามยุทธศาสตร์ทางเลือกเพื่อการพัฒนา
ความตื่นตัวในการพัฒนาทำให้ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ ได้เรียนรู้ประสบการณ์
ความสำคัญและความจำเป็นในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการพยาบาล
เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้บริการพยาบาล
เพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือลดการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้นส่วนด้านสุขภาพ
เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจและการมีคุณค่าของพยาบาล
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการพยาบาลอนามัยชุมชน
คิดค้นแนวทางการพัฒนานวัตกรรม โดยอาศัยวิธีการต่างๆ
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสุขภาพในการประสานงาน
กำหนดกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรมให้ชัดเจน
การประกาศนโยบาย และเป้าหมาย
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางกาย (Physical Health)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางจิตใจ (Mental Health)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางสังคม (Social Health)
ด้านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual Health)
การวิเคราะห์ปัญหานวัตกรรมสาธารณสุข
ระดับข้าราชการส่วนภูมิภาค
การรับการสั่งการในแต่ละเรื่องไม่ตรงกันและไม่ประสานกัน
ถ่ายทอดความรู้ผิดเพี้ยน
การทำงานแต่ละอย่างเกิดการเร่งรัด
ระดับส่วนกลาง
ขาดการประสานงาน แยกส่วนกันทำ
การเกิดขึ้นของนวัตกรรมแต่ละเรื่องไม่พร้อมกัน
เร่งรัดในการดำเนินงานมากจนเกินไป
ระดับประชาชน
องค์กรและผู้นาชุมชนทางสาธารณสุขยังไม่เชื่อมกับกรรมการหมู่บ้าน
ประสิทธิภาพขององค์กรชุมชนและกลุ่มผู้นำในหมู่บ้านยังไม่ดีพอ
มีความเข้าใจในแนวคิด และแนวทางปฏิบัติในเรื่องนวัตกรรมสาธารณสุขไม่ชัดเจนพียงพอ
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข
ด้านคิดค้นนวัตกรรม หรือวางแผนใช้นวัตกรรม
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ด้านการประเมินผล
บทบาทของพยาบาลในสถานบริการสาธารณสุข
งานด้านการวางแผน
ร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาชนบทระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด
ร่วมวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในแต่ละพื้นที่
เป็นผู้ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ
งานด้านการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย พยาบาลอาจเป็นผู้ให้ข้อมูล
งานด้านการฝึกอบรม นิเทศ และติดตามให้การสนับสนุน
งานด้านการให้บริการพื้นฐาน
งานด้านการจัดระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข
การประเมินผล
ปัญหา อุปสรรค ของนวัตกรรม
เกิดจากประชาชน ผู้มีส่วนร่วม
ประชาชนขาดศรัทธา
ประชาชนบางพื้นที่ยังยากจน
ประชาชนขาดการเตรียมการที่ดี
นวัตกรรมบางอย่างต้องเกี่ยวข้องกับราชการ
เกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้ดาเนินการ
1.ไม่เข้าใจแนวคิด หรือเข้าใจผิดเพี้ยน
ขาดขวัญและกําลังใจ
เจ้าหน้าที่ดําเนินการไม่ดี
งานนวัตกรรมส่วนใหญ่จะเป็นงานเร่งรัด
นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง
เลขที่ 27 รหัส 611001402385