Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดนตรีไทย สมัยรัตนโกสินทร์ - Coggle Diagram
ดนตรีไทย สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัชกาลที่ 2
มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อ ซอสายฟ้าฟาด
ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบุหลันลอยเลื่อน
เป็นยุคทองของดนตรีไทย
นำวงปี่พากย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภา
รัชกาลที่2ืรงพระปรีชาสามรถในทางดนตรีไทย
สมัยรัชกาลที่ 4
มีการพัฒนาของวงปี่พาทย์เป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่
นิยมการร้องส่งกัน ซึ่งได้พัฒนามาเป็นเพลงเถา
ประดิษฐ์ระนาดเองเหล็ก และประดิษฐ์ระนาดทุ้มเหล็ก
สมัยรัชกาลที่ 7
มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้แก่นักดนตรี
เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองทำให้ดนตรีไทยไม่ได้รับการพัฒนาเป็นยุคมืดของดนตรี
สมัยรัชกาลที่ 9
ทรงพระราชทานทุนให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์เพลงไทยเป็นโน็ตสากลและตรวจคำอธิบายด้วยพระองค์เอง
เกิดการเรียนการสอนดนตรีไทยตามสถานศึกษาต่างๆ
ทรงพระราชนิพนธ์บทเพลงทั้งสิ้น 48 เพลง
มีการบรรเลงผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีไทยตามสถานศึกษาต่างๆ
สมัยรัชกาลที่ 5
เกิดวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์
เกิดการประชันฝีมือมากขึ้น และทำให้วงดนตรีมีขนาดใหญ่มากขึ้นด้วย
เกิดการบรรเลงแตรวง
สมัยรัชกาลที่ 1
ลักษณะดนตรีส่วนใหญ่ยังคงเป็นแบบสมัยอยุธยา
มีการเพิ่มกลองทัด1ลูกในวงปี่พากย์และเพิ่มระนาดเอก1รางใยวงมโหรี
สมัยรัชกาลที่ 3
ประดิษฐ์ระนาดขนาดทุ้มและฆ้องวงใหญ่
พัฒนาวงปี่พาทย์เป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่
สมัยรัชกาลที่ 8
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางดนตรี
เกิดโรงเรียนนาฎดุริยางค์ศาสตร์(วิทยาลัยนาฏศิลป์)
สมัยรัชกาลที่ 6
ดนตรีไทยได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศทำให้เกิดการประสมวงแบบใหม่ เช่น วงปี่พาทย์มอญ
เกิดเครื่องดนตรีใหม่ เช่น อังกะลุง