Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด Drug Administration, หน้า 4, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ …
การบริหารยาฉีด
Drug Administration
วัตถุประสงค์การฉีดยาเข้า ชั้นใต้ผิวหนัง
ให้ยา วัคซีน ยาเตรียมก่อนการผ่าตัด ยาแก้ปวด ปริมาณยาครั้งละ 0.5 -1 ml ไม่เกิน 1.5 ml ยาต้องละลายในน้ำ ดูดซึมได้ช้าแต่ออกฤทธิ์เร็วกว่าทางปาก
ตำแหน่งที่ใช้ฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
1.ต้นแขนด้านนอก
2.ต้นแขนด้านหลัง
3.ต้นขาด้านหน้าข้างนอกของลำตัว
4.หน้าท้องข้างสะดือตำแหน่งฉีดยาอยู่เหนือกล้ามเนื้อหน้าท้อง
เทคนิคการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
1.ดึงผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาให้ตึง ถ้าผู้ป่วยผอมให้ใช้มือข้างที่ ไม่ถนัดจับเนื้อบริเวณที่จะฉีดขึ้นมาแทนการกดลงให้หนังตึง
ดึงลูกสูบกระบอกฉีดยาเล็กน้อย
เพื่อทดสอบว่าปลายเข็มไม่ได้อยู่ในหลอดเลือด
แทงเข็มทามุม 45 องศากับผิวหนัง แทงเข็มลึก 5/8-1/2 นิ้ว
ใช้สำลีแห้งกดและคลึงบริเวณนั้น ถ้าเป็นผู้ป่วยที่มีปัญหา เลือดออกง่าย ห้ามคลึง แต่ใช้การกดแทนเทคนิคการฉีดยา เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
Deltoid muscle กล้ามเนื้อต้นแขน - ไม่นิยมฉีดในเด็กอายุตำกว่า 2 ปี แต่นิยมฉีดในผู้ใหญ่
Gluteus muscle กล้ามเนื้อสะโพก
กล้ามเนื้อ gluteus ด้านหลัง เสี่ยงต่อการถูกเส้นประสาท sciatic ทาให้ เกิดอัมพาตที่ขา (paralysis ) และเสี่ยงต่อการฉีดเข้าหลอดเลือดใหญ่
Vastus lateralis muscle, Rectus femoris muscle กล้ามเนื้อต้นขา นิยมฉีดในเด็กเล็กต่ำกว่า 2 ปี
หลักการวางมือในการวัดตำแหน่งฉีดยา
ถ้าฉีดสะโพกซ้ายให้ใช้มือขวาวัด
ถ้าฉีดสะโพกขวาให้ใช้มือซ้ายวัด
บริเวณที่ฉีดอยู่ระหว่างนิ้วชี้กับนิ้วกลาง
วิธีการวัดกล้ามเนื้อสะโพก
แบ่งพื้นที่ก้นด้านใดด้านหนึ่งออกเป็น 4 ส่วน ขอบบนอยู่ที่ขอบกระดูก เชิงกราน ขอบล่างอยู่ที่ก้นย้อยแล้วลากเส้นแบ่งครึ่งบริเวณที่ฉีดอยู่ที่ ส่วนบนด้านนอกต่ำจากขอบกระดูกเชิงกราน 2-3นิ้วฟุต
วิธีวัดตำแหน่งโดยแบ่งเป็น 3 ส่วน
ผู้ป่วยนอนตะแคง ขาข้างที่จะฉีดยาอยู่บนด้านหน้าของขา ล่าง โดยที่เข่าและข้อตะโพกงอ ท้าให้กล้ามเนื้อคลายตัว
ลากเส้นตรงจากปุ่มกระดูกเชิงกรานบนด้านหน้ามาที่กระดูกก้นกบ แบ่งเส้นตรง ออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆกันฉีดส่วนที่ 1ต่อส่วนที่ 2
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อวิธีซิกแซก (Z-track or Zigzag technique)
ใช้สำหรับยาที่มีฤทธิ์ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังมาก
ต้องฉีดให้น้ำยาอยู่ในชั้นกล้ามเนื้อจริงๆ โดยไม่ซึมย้อนขึ้นมาชั้นใต้ ผิวหนัง จะต้องทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังเคลื่อนจาก ตำแหน่งเดิม 1-1.6 นิ้วหรือ 2.5-4 เซนติเมตร
ตำแหน่งที่นิยมคือกล้ามเนื้อสะโพกด้านหลัง
วิธีการวัด
1.วางสันมือข้างที่ไม่ถนัดบนบริเวณใกล้ตำแหน่งที่จะฉีดยา กดและดันผิวหนังใต้สันมือไปยังด้านข้างล้าตัว ค้างมือไว้จนฉีดยาเสร็จ
2.เข็มฉีดยายาวอย่างน้อย 1 ½ นิ้ว สำหรับคนอ้วนควรยาว 3 นิ้ว ดันยาหมดควรรอ 10 วินาที ก่อนถอนเข็มออกเพื่อป้องกันการซึมของน้ำยาออกตามรอยแทงเข็ม
3.เมื่อถอนเข็มออกแล้วจึงปล่อยมือข้างที่กดและดันผิวหนังออก เนื้อเยื่อชั้นใต้ ผิวหนัง จะเคลื่อนกลับไปตำแหน่งเดิม
เทคนิคการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ดึงผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
แทงเข็มลงไปในกล้ามเนื้อ จะแทงลึกเท่าไรขึ้นอยู่กับกล้ามเนื้อที่ฉีด ความยาวเข็มและการแทงท้ามุมของเข็ม
เมื่อแทงได้ความลึกที่ต้องการแล้ว ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดจับหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ใช้มือข้าง
ที่ถนัดดึงลูกสูบขึ้นเบา ๆ เพื่อทดสอบดูว่าปลายเข็มไม่ได้แทงเข้าหลอดเลือด ถ้ามี เลือดออกมาในกระบอก ฉีดยาเมื่อดึงลูกสูบขึ้น จะต้องขยับเข็มกลับออกมาเล็กน้อย และทดสอบ อีกครั้ง หากไม่มีเลือดออกมาใน กระบอกฉีดยาจึงค่อย ๆ ดันลูกสูบเพื่อไล่ยาจนกระทั่งหมด
วางสำลีแห้งบริเวณที่ฉีดแล้วถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกโดยเร็ว
การป้องกันอันตรายจากการฉีดยา
1.ให้ยาโดยยึดหลัก 10 R
2.อ่านฉลากยา 3ครั้ง คือก่อนหยิบยา ก่อนดูดยา ก่อนทิ้งขวดยา
3.เปิดบริเวณที่ฉีดยาให้กว้างพอ
4.Aseptic technique / sterile Aseptic
5.หมุนเวียนตำแหน่งฉีดยา
6.ผ่อนคลายความวิตกกังวล บอกให้ทราบว่าจะทำ อะไรให้ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการฉีดยาคืออะไร ท่าทีพยาบาลมั่นใจและให้กำลังใจ
7.Alcohol แห้งก่อนจึงแทงเข็ม
หน้า 4
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086