Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน หลักการสาธารณสุขมูลฐานและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง…
แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน
หลักการสาธารณสุขมูลฐานและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลอนามัยชุมชน
จัดบริการพยาบาลอนามัยชุมชนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับประโยชน์เต็มที่ในการบริการที่ชุมขนจัดให้
สร้างความร่วมมือกับชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ
เสริมสร้างความร่วมมือและการประสานงานระหว่างทีมสุขภาพ บุคลากรอื่นๆ และชุมชน
ศึกษาวิจัยและพัฒนาคุณภาพบริการฯ
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดูแลสุขภาพ
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการสาธารณสุขมูลฐาน
มีหน้าที่ยื่นมือเข้าไปช่วยบุคคลหรือกลุ่มคนที่เสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพในชุมชน
กำหนดนโยบาย เพื่อหาทางให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัย
ให้บริการสุขภาพอนามัยต่อบุคคลทุกกลุ่ม และทุกสถานที่
การฝึกหรือสอนสมาชิกในทีมสุขภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขมูลฐาน
เน้นการปฏิบัติพยาบาลเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และรักษาสุขภาพของท้องถิ่น
พัฒนาระบบการส่งต่อหรือระบบกาลังคนด้านสุขภาพอนามัย และประสานงานกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ
มีความรู้ในงานบริหาร การนิเทศ การวิจัย การสอน อันเป็นประโยชน์ต่อการจัดบริการเพื่อสุขภาพของประชาชน
แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชนกับระบบบริการสาธารณสุขมูลฐาน
2 ระบาดวิทยา
ใช้ในการศึกษาและการแก้ปัญหา สุขภาพของชุมชน
ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพของประชาชน
3 สังคมวิทยาและมนุษวิทยาทางการแพทย์
เพื่อสามารถให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อทำความเข้าใจระบบวิธีคิดและการแสดงออกถึงพฤติกรรมสุขภาพ
1 แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล
เพื่อให้เข้าใจมโนมติเกี่ยวกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การ เจ็บป่วยและการพยาบาล
หลักการสาธารณสุขมูลฐานและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จะต้องให้ชุมชนรับรู้ และเข้าใจว่าปัญหาของชุมชน และร่วมหาแนวทางแก้ไข
ปรับให้เหมาะสมกับสภาพของสังคมและสิ่งแวดล้อมได้
เป็นการพัฒนาชุมชนให้มีความสามารถในการที่จะแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
ความร่วมมือของชุมชนคือหัวใจของการสาธารณสุขมูลฐาน
เป็นกลวิธีทางสาธารณสุขที่เพิ่มขึ้นจากระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ชุมชนเข้มแข็ง
ประชาชนมีการเรียนรู้ การจัดการ และการแก้ไขปัญหาร่วมกัน จนเกิดการพัฒนาทุกๆด้านภายในชุมชน
ความเข้มแข็งของชุมชน
ประชาชนรวมตัวกันและมีการจัดการ จนเกิดทุนทางสังคม (Social Capital) ที่ทำให้เกิดพลังในการแก้ไขปัญหาชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
มิติเชิงผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ
ประชาชนเข้าไปมีบทบาทในการตัดสินใจ ทั้งในด้านการบริหาร การเมือง
เพื่อที่จะกำหนดความต้องการของตนเองในชุมชน นำไปสู่ความสำเร็จในการพัฒนา
มิติเชิงผู้มีส่วนได้เสีย
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินการพัฒนาของรัฐ กิจกรรมการพัฒนาของชุมชน ที่ประชาชนยินดีมาร่วม
เป็นการร่วมรับผลประโยชน์และร่วมลงทุนลงแรง
มิติเชิงกระบวนการ
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การดำเนินกิจกรรม มีส่วนร่วมในผลประโยชน์ และการประเมินผล
เน้นกระบวนการส่งเสริมชักนำ สนับสนุน และสร้างโอกาสให้ชาวบ้าน
แนวคิดของการสาธารณสุขมูลฐาน
ชุมชนรับรู้และทราบว่าปัญหาของชุมชนคืออะไร และร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา
ความร่วมมือของชุมชนเป็นหัวใจของการสาธารณสุขมูลฐาน
ใช้เทคนิคและวิธีการง่ายๆ ไม่เกินขอบเขตและกำลังของชุมชน
จะต้องเข้าใจว่าเราทำงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดการดำรงชีวิตที่ดีของชุมชน
สุขภาพอนามัยที่ดีมีความสัมพันธ์กับความเป็นอยู่ และการดำรงชีวิต
เป็นระบบบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมและเสริมจากระบบของรัฐ
สอดคล้องและอาศัยประโยชน์จากสถาบันหรือระบบชีวิตประจำวันของชุมชน
เป็นการพัฒนาชุมชนให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ได้ด้วยตนเอง
ควรมีความยืดหยุ่นในการที่จะนำมาใช้แก้ปัญหาตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมและปัญหา
ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ การสุขศึกษา การควบคุมป้องกันโรคในท้องถิ่น
ต้องเชื่อมโยงกับงานบริการสาธารณสุขของรัฐ
กระบวนการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง
กิจกรรมหลักที่ดำเนินการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
โดยการร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรักษา
เพื่อส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
เพื่อเผชิญปัญหาวิกฤต
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ชุมชน
การพัฒนาทางเลือกเพื่อด าเนินกิจกรรม