Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1) stress diathesis model
กล่าวคือการเกิดโรคทางจิตเวชอยู่กับความรุนแรงของการได้รับสถานการณ์ความตึงเครียดทาง
สิ่งแวดล้อม (stress)
2) case formulation
โดยพิจารณาปัจจัย 4 ประการ (4 P’s)
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors)
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors)
ปัจจัยที่ทําให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
1.2 ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1) ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors)
การทําหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
dopamine เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวที่ไม่อยู่ในการควบคุมจากอํานาจของจิตใจ
serotonin เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับ วงจรของการหลับและตื่น การควบคุมความรู้สึกอยากอาหาร
norepinephrine เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวกับการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความครียด
GABA (gamma amino butyric acid) เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่ในการยับยั้ง การตอบสนองของระบบประสาทที่มากเกินไป
acetylcholine เป็นสารสื่อประสาทที่ทําหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว และความจํา
2) ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
คือ ปัจจัยที่เป็นสาเหตุจากภายในของมนุษย์ที่
ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคทางจิต
ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นผลมาจากการเลี้ยงดู ความคิด ความเชื่อที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ และประมวลมาเป็นแบบแผนของบุคลิกภาพ
3) ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (authoritarian)
การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย (rejection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบทนุถนอมมากเกินไป (overprotection)
การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (democracy)
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู
4) ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
อาการวิทยาและเกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
2.1 กลุ่มของอาการและอาการแสดงทางจิตเวช
1) ความผิดปกติของความรู้สึกตัว
( disturbance of consciousness)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว (disturbance of level of consciousness)
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง
(disturbanceof suggestibility)
2) ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbanceof motor behavior)
3) ความผิดปกติของการพูด (disturbanceof speech)
4) ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbanceof emotion)
5) ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด (general disturbance in form or process of thinking)
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disturbances in form of thought)
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด (disturbance of content of thought)
6) ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception)
ชนิดที่1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน (hallucination)
ชนิดที่ 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง (illusion)
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์ conversion และ dissociation
ชนิดที่ 4 ความผิดปกติของการรับรู้ที่เกิดความผิดปกติของพุทธิปัญญา(cognition)
2.2 เกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
1) International Classification of Disease and Related Health Problem 10th Revision
(ICD 10)
โดยใช้ระบบตัวอักษรร่วมกับตัวเลขตั้งแต่ A00 -Z99
โดยความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders จะเริ่มที่ F00-F99
2) Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
เป็นการจําแนกโรคโดยอาศัยอาการและอาการแสดงเป็นหลัก
โดยการประเมินผู้ป่วยในหลายด้านแบ่งออกเป็น 5 แกน
3 แกนแรกเป็นการวินิจฉัยโรคที่เป็นทางการ ส่วน 2 แกนหลังเป็นข้อมูลส่วนที่เพิ่มเติมใช้ในการรักษาและพยากรณ์โรค
สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรา 12 สถานบําบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย ในประการที่น่าจะทําให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย
มาตรา 17 การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย จะกระทําไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจําเป็น
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทําต่อสมองหรือระบบประสาท
มาตรา 19 การทําหมันผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้เว้นแต่ได้ปฏิบัติตามมาตรา 18 ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือ
มาตรา 20 การวิจัยใด ๆที่กระทําต่อผู้ป่วยจะกระทําได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วยและต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ
มาตรา 21 การบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผล ความจําเป็นในการบําบัดรักษา
มาตรา 23 ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจโดยไม่ชักช้า
เพื่อให้ง่ายในการทําความเข้าใจในขั้นตอนและแนวทางการดําเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต
พ.ศ. 2551
เจอ: เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 (ผู้ที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความ
จําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษา)
แจ้ง: แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ตรวจ: สถานพยาบาลของรัฐหรือหรือสถานบําบัดรักษาต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องต้นภายใน 48 ชั่วโมง
ส่ง: ส่งรักษาในสถานบําบัด (โรงพยาบาลจิตเวช)