Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพ - Coggle Diagram
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพ
นโยบายและแผนพัมนาสุขภาพแห่งชาติ
ฉบับที่6(2530-2534)
ขยายสถานบริการสาธารณสุข ให้ครบตามเป้าหมายการยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน
เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ฉบับที่7(2535-2539)
เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคน
ฉบับที่5(2525-2529)
เน้นการพัฒนาชนบทอย่างผสมผสานโดยชุมชนมีส่วนร่วมภายใต้ระบบของคณะกรรมการการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช)
ฉบับที่8(2540-2544)
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นวัตถุประสงค์หลัก
ฉบับที่4 (2520-2524)
มุ่งเน้นการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข
ฉบับที่9(2545-2549)
เน้สุขภาพคือสภาวะ พัฒนาระบบสุขภาพทั้งระบบยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ
โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ฉบับที่3 (2515-2519)
มุ่งเน้นการอนามัยแม่และเด็ก
เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต กำหนดนโยบายประชากรเป็นครั้งแรก
มีนโยบายการให้บริการรักาาฟรี แก่ผู้มีรายได้น้อยครั้งแรก พ.ศ./ถๅค
ฉบับที่10(2550-2554)
มุ่งส฿่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้สุขภาพดีบริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
ฉบับที่2 (2510-2514 )
เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท
เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์
ฉบับที่11(2555-2559)
มุ่งพัมนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมมุ่งเน้นการสร้างหลักประกันและการจัดบริการที่ครอบคลุมเป็นธรรม
ฉบับที่1 (2504-2509)
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข
ควบคุมโรคติดต่อ
ฉบับที่12(2560-2564)
ยึดคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี2579 ควบคู่กับกรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย4,0
ประเด็นการปฏิรูป ประเทศด้านสาธารณสุข
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนาความเป็นเลิศ
บริการเป็นเลิศ
บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
บุคลากรเป็นเลิศ
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
3.ปัญหาคุณภาพบริการ ทั้งระบบประกันสุขภาพ คุณภาพมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยทั้ง3มิติ คือ ได้รับบริการตามสิทธิรวดเร็ว
4.การวางแผนกำหนดเครื่อข่ายหน่วยบริการ ทั้งเขตชนบทและเขตเมือง ที่ชัดเจน
2.ความขัดแย้งระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ
5.ความไม่ชัดเจนของการกำหนดขอบเขตชุดสิทธิประโยชน์ทำให้มีช่องว่างของการใช้บริการตามสิทธิของประชาชน
1.การดำเนินงานเพื่อให้เกิดหน่วยงานบริการสุขภาพระดับปบมภูมิ
ุุ6.ขาดการจัดการและการทำงานในส่วนของบริการสาธารณสุขที่มุ่งให้เกิดแผนโครงการที่มีประโยชน์ ในระดับบุคคลไม่ใช่ระดับปัจเจก