Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากล :<3:
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสาสโลว์
ความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์
ความต้องการด้านร่างกาย
ความต้องการความมั่นคง
ความต้องการความรัก
ความต้องการการได้รับการยอมรับ
ความต้องการเข้าใจตนเอง
ตอบสนองความต้องการพื้นฐาน
ใช้ความต้องการพื้นฐานเป็นแรงจูงใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์
พัฒนาได้ดีหากอย่างอยู๋ในสถานะที่ผ่อนคลาย
การจัดบรรยากาศเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
จัดสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ปลอดภัย
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการเป็นเครื่องมือสำคัญ
ให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน
กานเย่
ประเภทการเรียนรู้ 8 ประเภท
การเชื่อมโยงภาษา
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
การเรียนรู้การแก้ปัญหา
การเรียนรู้สิ่งเร้า
การเรียนรู้กฏ
การเรียนรู้สัญญาณ
การเรียนรู้ความแตกต่าง
สมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์ 5 ประการ
ยุทธศาสตร์ในการคิด
ทักษะการเคลื่อนไหว
ทักษะเชาว์ปัญญา
เจตคติ
การเรียนรู้ข้อเท็จจริง
ระบบการสอน 9 ขั้น
ขั้นที่4 เสนอบทเรียนใหม่
ขั้นที่5 ให้แนวทางการเรียนรู้
ขั้นที่3 กระจุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฎิบัติ
ขั้นที่2 แจ้งจุดประสงค์
ขั้นที่7 ให้ข้อมูลตอบกลั
ขั้นที่1 สร้างความสนใจ
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
เน้นทางปัญญาหรือความคิด
ทฤษฎีเกสตัลท์
การรับรู้
กฏการรับรู้
กฏแห่งความใกล้เคียง
กฏแห่งความต่อเนื่อง
กฏแห่งความใกล้ชิด
กฏแห่งความชัดเจน
กฏแห่งความคล้ายคลึง
การหยั่งเห็น
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด
ขั้นการคิดแบบนามธรรม
ขั้นการคิดแบบรูปธรรม
กระบวนการทางสติปัญญา
การซึมซับหรือดูดซึม
การปรับและการจัดระบบ
การเกิดความสมดุล
บรุนเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 3 ขั้น
ขั้นการกระทำ
ขั้นคิดจินตนาการ
ขั้นใช้สัญลักษณ์และความคิดรวบยอด
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาพลอฟ(สุนัขน้ำลายไหล)
นำความต้องการธรรมชาติมาเป็นสิ่งเร้า
เสนอสิ่งที่สอนกับสิ่งเร้าที่เป็นธรรมชาติ
จัดกิจกรรมให้ต่อเนื่องแล้วคล้ายกัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของวัดสัน (จับหนูขาวมาให้เด็กกลัวแล้วให้ไปหาแม่)
ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
จัดสิ่งจูงใจให้สอดคล้องกับภูมิหลัง
ทฤษฎีการวางเงื่อนต่อเนื่องของกัธทรี (จับแมวมาให้หาทางไปหินแซลมอน)
กฎแห่งการต่อเนื่อง
กฎแห่งการกระทำครั้งสุดท้าย
การวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
การกระทำที่เสริมแรง
เพื่อปลูกฝัง
ยกเลิกทำโทษ
ไม่ให้รางวัล
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
กฏการเรียนรู้ธอร์นไดค์
กฎการใช้
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งความพร้อม
กฎแห่งพอใจ
หลักการจัดการศึกษา
ลองผิดลองถูก เพื่อเกิดการเรียนรู้ แก้ปัญหา จดจำ และภาคภูมิใจ
สำรวจความพร้อมให้กับผู้เรียน
ฝึกฝนบ่อยๆ เพื่อเกิดเป็นทักษะ
ฝึกนำไปใช้บ่อยๆเพื่อเกิดการเรียนรู้
มีรางวัลเพื่อเพิ่มความพอใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย :<3:
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล
การเรียนรู้ของมนุษย์ - การทำงานของสมอง
การรับข้อมูล
การเข้ารหัส
การส่งข้อมูลออก
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จัก คุ้นเคย มีประสบการณ์
การท่องซ้ำ การจัดหมวดหมู่
การเข้ารหัส
พฤติกรรมทางวาจา/การกระทำ
ทฤษฎีพหุปัญญา
พหุปัญญา 8 ด้านของการ์ดเนอร์
สติปัญญาด้านภาษา
สติปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์
สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
สติปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
สติปัญญาด้านดนตรี
สติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์
สติปัญญาด้านความเข้าใจตนเอง
สติปัญญาด้านการรักธรรมชาติ
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรมที่หลากหลาย
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน
การผสมผสานเชาวน์ปัญญา/ความสามารถด้านต่างๆ ให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน
วัดและประเมินผลหลายด้าน
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
Vygotsky (1962) กล่าวว่า
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
ทุกคนมีระดับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา และมีศักยภาพที่จะพัฒนาได้
ให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะ ช่วยพัฒนาให้ถึงระดับที่อยู่ในศักยภาพของผู้เรียน
Jonassen (1992) กล่าวว่า
ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ จากประสบการณ์
สมองเป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดในการแปลความหมายปรากฎการณ์
เรียนรู้ด้วยการจัดทำข้อมูล ไม่ใช่การรับข้อมูล
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสมองและกระบวนการทางสังคม
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ เน้นกระบวนการสร้างความรู้
เป้าหมายการเรียนรู้ ฝึกฝนและเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง
การสาธิต
ให้ผู้เรียนนำตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้
ครูให้ความร่วมมือช่วยเหลือผู้เรียน
การประเมินผลเป็นแบบ Goal Free Evaluation
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
มีพื้นฐานจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
การเรียนรู้ที่ดี เกิดจากการสร้างพลังงานความรู้ในตัวเอง
ได้สร้างความคิด แล้วนำความคิดไปสร้างสรรค์ชิ้นงาน
การสร้างสรรค์ชิ้นงาน คือ การสร้างความรู้ในตนเอง
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
การออกแบบวัสดุโดยการนำเทคโนโลยีมาใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ LEGO TC Logo, Micro-worlds, Robot design
การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดี
ครูให้คำปรึกษาชี้แนะผู้เรียน
การประเมินผลงาน กระบวนการ ด้วยวิธีที่หลากหลาย
ทฤษฏีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Johnson and Johnson (1994)
การเรียนรู้ที่จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเป็นกลุ่ม 3-5 คน โดยสมาชิกในกลุ่มมีความแตกต่างกันทางด้านเพศ เชื้อชาติ ความสามารถทางการเรียน ให้ช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความเห็นกัน รับผิดชอบหน้าที่ของแต่ละคนในกลุ่ม
Slavin (1987)
จัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่ม 4 คน แบ่งเป็น เก่ง (1) ปานกลาง (2) อ่อน (1) ช่วยกันในกลุ่ม ถ้าทำคะแนนเฉลี่ยถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้จะได้รับรางวัล
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Johnson and Johnson (1991)
พึ่งพาเกื้อกูลกัน
ปรึกษาหารืออย่างใกล้ชิด
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่ม
การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
ผลดีของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Johnson and Johnson, Holubec (1994)
ผู้เรียนมีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น
ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดีขึ้น
ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบไม่เป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบถาวร
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
การวางแผนการสอน
การจัดกิจกรรม
กำกับดูแลช่วยเหลือกลุ่ม
การประเมินผล
เทคนิคการจัดการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์
เทคนิค STAD
เทคนิค TGT
เทคนิค TAI
เทคนิค CIRC
Round Robin
Chat Corner
Match Mime
Numbered-head Together
Color-Coded Co-Op
Cards
Pair Check
Three-Step Interview
Think-Pair Share
Team Word-Webbing
Round Table
Inside-Outside Circle
Partner
Jigsaw
Co-Op Co-Op
แนวคิดที่ได้รับการยอมรับสามารถใช้อธิบายลักษณะของการเกิดการเรียนรู้หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม