Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดเชิงคำนวณ :checkered_flag:, เป็นกระบวนการวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหา …
แนวคิดเชิงคำนวณ
:checkered_flag:
:
การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย
(Decomposition)
เป็นการแยกส่วนประกอบเป็นวิธีคิดรูปแบบ
หนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ
เป็นการพิจารณาเพื่อ
แบ่งปัญหาหรืองาน ออกเป็นส่วนย่อยทำให้สามารถจัดการปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น
การแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนทำได้ยาก การแบ่ง
ปัญหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยๆ ทำให้มีความซับซ้อนของปัญหาลดลง
สรุปแนวคิดเชิงคำนวณ ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งปัญหาใหญ่
เป็นปัญหาย่อย (Decomposition) นั้นเป็นการแตกผัญหาที่ซับซ้อนให้เป็นปัญหาย่อยที่มีขนาดเล็กลงและซับซ้อนน้อยลง เพื่อช่วยในการวิเคราะห์และวิธีการออกแบบแก้ปัญหาทำได้ง่ายขึ้น
การพิจารณารูปแบบ (Pattern Recognition)
เป็นการหารูปแบบซึ่งเป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่
เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่างๆ โดยใช้ทักษะการแยกองค์ประกอบทำให้ได้องค์ประกอบภายในอื่นๆ
ใช้ทักษะการหารูปแบบ
เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น โดยพิจารณาว่าเคยพบปัญหาแบบนี้มาก่อนหรือไม่ ถ้าหากมีรูปแบบที่คล้ายกันก็สามารถนำวิธีการแก้นั้นมาประยุกต์ใช้ปัญหา
เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะสำคัญบาง
อย่างร่วมกันอย่างมีเงื่อนไข ซึ่งสามารถอธิบายความสัมพันธ์เหล่านั้น ได้โดยใช้การสังเกต วิเคราะห์ หาเหตุผลต่างๆ
สรุป การพิจารณารูปแบบ
(Pattern Recognition)เป็นการหารูปแบบซึ่งเป็นทักษะการหาความ
สัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่างๆ การหารูปแบบ
เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น
การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)
ปัญหาประกอบด้วยรายละเอียดที่หลากหลาย
โดยมีทั้งรายละเอียดที่จำเป็น การคิดเชิงนามธรรมเป็นการคัดแยกราย
ละเอียดที่ไม่จำเป็นออกจากปัญหาที่พิจารณาอยู่ทำให้สามารถเข้าใจ วิเคราะห์ และออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหาในภาพรวมได้ง่ายขึ้น
เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ ซึ่ง
ใช้กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียด
ปลีกย่อยในปัญหาหรืองาน
ที่กำลังพิจารณาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและ
เพียงพอในการแก้ปัญหา
สรุป การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)
แนวคิดนามธรรมจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนว
คิดเชิงคำนวณซึ่งใช้กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อในปัญหาหรือ
งานที่กำลังพิจารณาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและ
เพียงพอในการแก้ปัญหา
การออกแบบอัลกอริทึม (Algorithm)
เป็นการพัฒนากระบวนการหาคำตอบให้เป็นขั้นตอนที่บุคคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำไปปฏิบัติตามเพื่อแก้
ปัญหาได้เป็นการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขั้นเป็นตอนเพื่อดำเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา
การนำอัลกอริทึมไปใช้แก้ปัญหา ไม่จำกัดเฉพาะการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่นเดียวกัน
เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประโยชน์สูงสุดซึ่งจำเป็นต้องวาง
แผนอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนปัญหาบางปัญหาอาจจะมีอัลกอริทึมในการแก้ปัญหาได้หลาย
วิธี
เครื่องมือช่วยในการเขียนอัลกอริทึมเป็นแนวทางในการเขียน
โปรแกรมช่วยให้การเขียนโปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น
ช่วยให้โปรแกรมมีข้อผิดพลาดน้อยลง
สรุป การออกแบบอัลกอริทึม
(Algorithm)
การออกแบบอัลกอริทึม ในแนวคิดเชิงคำนวณจึงเป็นการพัฒนากระบวนการหาคำตอบให้เป็นขั้นตอนที่บุคคลหรือคอมพิวเตอร์สามารถนำไปปฏิบัติตามเพื่อแก้ปัญหาได้อัลกอริทึมที่ดี จะต้องมีความ
ถูกต้องต้องมีลำดับขั้นตอนที่
ชัดเจนมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยและง่ายต่อการทำความเข้าใจ
เป็นกระบวนการวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหา
ในหลากหลายลักษณะเช่นการจัดลำดับเชิงปัญหาเพื่อให้ได้แนวทางหาคำตอบ
อย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องการ เชิงคำนวณเป็นตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหา
เชิงคำนวณเป็นตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไป