Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธสิภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง -…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธสิภาพระบบประสาท
ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Meningitis
เยื่อหุ้มสมองอักเสบเป็นการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองชั้นleptomeninges(piamaterและarachinoid)ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มสมอง และไขสันหลังโดยมีน้ำหล่อสมองและไขสันหลังไหลเวยีนอยู่เยื่อหุ้มสมองชั้นนี้จะติดต่อกันตลอด
การรักษา
การรักษาตามอาการ เช่น การควบคุมการชัก
การรักษาภาวะสมองบวม
2.การรกัษาเฉพาะหลักการรักษาคือต้องให้ยาฆ่าเชื้อโรคโดยเร็วที่สุด เลือกยาที่เหมาะสม โดยให้เหมาะกับเชื้อและยานั้น เข้าน้พไขสันหลังได้ และให้ยาในขนาดที่เพียงพอ
อาการ
มีอาการไข้และปวดศรีษะ ส่วนใหญ่มักมีไข้สูง หนาวสั่น และมี อาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง
อาการคอแข็งตึง (stiff neck)
ตรวจพบ kerninig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการชักอัมพาตและอาการอนื่ๆ แล้วแต่ส่วนของสมองที่มีพยาธสิภาพ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมักมีการติดเชื้อที่ระบบ อื่นๆนอกระบบประสาทส่วนกลางมาก่อนส่วนใหญ่มาจากระบบทางเดินหายใจและทางปาก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อราพบได้บอ่ยในผู้ป่วยเอดส์
เยื่อหมุ้สมองจากเชอื้พยาธิส่วนใหญ่ติดเชื้อจาการ กินอาหารสุกๆดิบๆ และดื่มน้าที่มีไข่หรือตัวอ่อน ของพยาธิปะปน ที่พบบ่อยได้แก่ พยาธิหอยโข่ง
เยื่อหมุ้สมองอักเสบจากเชื้อวัณโรคส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อวัณโรคกระจายไปตามกระแสเลือด เชื้อที่ พบบ่อย คือเชื้อ Mycobacterium tuberculosis
Encephalitis
สมองอักเสบ (Encephalitis) เป็นการติดเชื้ออย่าง เฉียบพลันของเนื้อเยื่อสมองและไขสันหลังส่วน parenchymal โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน barsal ganglia ในการติดเชื้อนี้อาจ รวมไปถึงชั้นเยื่อหุ้มสมองด้วย
อาการ
ระยะแรก ผู้ป่วยมักมีอาการนำ ได้แก่ อาการไข้ ปวดศรี ษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ระยะต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการทางสมองซึ่งจะพบความผิดปกติ ของระดับความรู้สึกตวับางราย
การรักษา
การรกัษาเฉพาะเพื่อทาลายเชื้อโรค
การรกัษาประคับประคอง
ไวรัสจะเข้าสู่สมองและไขสันหลัง ได้ 3 ทาง
แพร่กระจายมาตามกระแสเลือด
เข้ามาตามเส้นประสามและเข้าสู่สมอง
เข้ามาทางเยื่อบุโพรงจมูก
การตรวจวินิจฉัยสมองอักเสบ
การตรวจ MRI
การตัดชิ้นเนื้อสมอง (Brain biopsy)
การตรวจวินิจฉัยสมองอักเสบ (Encephalitis)
การเจาะหลัง
Brain abscess
ฝีในสมอง (Brain abscess) เป็นการอักเสบมีหนอง และมีการสะสมของหนองอยู่เป็นที่ภายในเนื้อเยื่อสมอง
อาการ
อาการทั่วไปส่วนใหญ่จะมีอาการปวดศรีษะซึ่งจะเพิ่ม ความรุนแรงขึ้น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
อาการไข้ พบได้เพียงประมาณร้อยละ 50
อาการผิดปกติทางระบบประสาท
ปวดศีรษะและคลื่นไส้อาเจียน
มีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัวตั้งแต่ ซึม เล็กน้อยจนถึงหมดสติ มากกว่าร้อยละ 50
อาการผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะท่ีข้ึนกับตำแหน่งของฝีในสมอง
การรักษา
ฝีในระยะเริ่มแรกและมีขนาดเล็กกว่า 2 cm.
การรักษาโดยให้ยา ATB
การผ่าตัดพิจารณาตำแหนง่ ,ขนาด > 3 ซม.,จำนวน,ระยะของฝี
ผ่าตัดเปิดกะโหลกศรีษะเอาฝีในสมองออก(Craniotomy
Resection)
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ฝีในสมอง
CT
MRI
การเจาะหลัง
ภาวะแทรกซ้อนฝีในสมอง
ภาวะสมองเคลื่อนที่ (Brain herniation)
ฝีแตกเข้าสู่โพรงสมอง (Ventriculitis)
Seizure
สาเหตุ
พันธุกรรม
ความไม่สมดุลของเมตาโบลิก หรืออิเล็กโทรลัยยท
ความเสื่อม และช่วงของการเลิกแอลกอฮอล์ หรือ barbiturate
ความผิดปกติของสมองแต่กำเนิด เนื้องอก
การติดเชื้อ การบาดเจ็บที่ศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง
การรักษา
การรกัษาตามสาเหตุเช่น สิ่งที่กิน มีปัญหาจากเมตาบอลกิหรืออิเล็กโทรลัยท์ การติดเชื้อ
ให้ยาต้านชัก
การพยาบาล
การรักษาด้วยการผ่าตัด หรือการใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้น
การดูแลเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีอาการชักหรืออยู่ในภาวะชักอย่างต่อเนื่อง
ควบคุมอาการชักด้วยยา
ส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อตอบสนองความตอ้งการที่เกิดจากโรคและ การรักษา
การคงไว้ซึ่งสุขภาพท่ีดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต
กำจัดสาเหตุและลดปัจจัยส่งเสริมให้เกิดอาการชัก
หมายถึง การเกิดกระแสไฟฟ้าในเซลล์ประสาทขึ้นพร้อม กันและควบคุมไม่ได้ เป็นผลทำให้อาการเกิดขึ้นทันที ทันใด และมักเป็น ซ้าๆกัน
ปัจจัย
อารมณ์เครียด การอดนอน การทำงานเหนื่อยมาก
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เมื่อร่างกายมีภาวะปกติ เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ การมีแสงจ้าเกินไป การ
หายใจยาวและลึก (Hyperventilation)
ภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจน
การประเมินทางระบบประสาท
1.การซักประวัติ
ประวัติที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการคิดรู้
และการรู้สติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อย
ประวัติเกี่ยวกับพฤติกรรม และบุคลิกภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินชีวิต
การประเมินจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kernig sign
การประเมินการหายใจ
การหายใจแบบ Cheyne-Stoke respiration
การหายใจแบบ Central neurogenic hyperventilation
Apneutic Breathing
Biot’s or Artaxic Breathing
Cluster Breathing
การวัดส่วนที่มีพยาธิสภาพของสมอง
การเคลื่อนไหวและกำลังของแขนขา
ลักษณะของรูม่านตา (pupils)