Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย - Coggle Diagram
ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย
การศึกษาสมัยโบราณ
สุโขทัย
พ.ศ.1826 พ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้ประดิษฐ์อักษรไทย
รัฐและวัดรวมกันเป็นศูนย์กลางแห่งประชาคม
วัด เรียนบาลีเป็นพื้นฐาน ใครรู้พรธรรมวินัยแตกฉานนับว่าเป็นปราชญ์
การศึกษาคือชีวิต การแก้ปัญหาโดยการปฏิบัติจริง
สำนักราชบัณฑิต เรียนเพิ่มเติม เรียนการปกครองและการรบ
ศิลาจารึกอักษรไทย ไตรภูมิพระร่วง ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และสุภาษิตพระร่วง
กรุงศรีอยุธยา
โรงเรียนมิชชันนารี มาเผยแผ่ศาสนาและสอนวิชาสามัญ
การศึกษาทั่วไปอยู่ที่วัด เรียนไทยและบาลี
ถ้าไม่ได้อุปสมบท ก็ไม่แต่งตั้งให้เป็นข้าราชการ
พระโหราธิบดีแต่งแบบเรียนภาษาไทย ชื่อ จินดามณี
การแต่งร้อยแก้ว โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เป็นการศึกษาชั้นสูง
บาลี สันสกฤต พม่า เขมร จีน ฝรั่งเศส
เรียนใช้วิธีท่องจำ นักเรียนเป็นผู้ชาย ส่วนหญิงเรียนการบ้านการเรือน
วิชาสามัญ เรียนอ่านเขียนเลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี
วิชาชีพ เรียนรู้ในวงศ์ตระกูล เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลัก และช่างฝีมือต่างๆ
มีการศึกษาอักษรศาสตร์ มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น
วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา
สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พระเจ้ากรุงธนบุรี
เก็บตำราจากแหล่งต่างๆ ที่รอดพ้นจากการทำลายของพม่า
เน้นการทำนุบำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
ฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ วรรณคดี
มีการแต่งรามเกียรติ์เค้าโครงเรื่องมาจากอินเดียเรื่องรามายณะ
กฎหมายตรา 3 ดวง มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
โปรตุเกส และชาติอื่นๆ เข้ามาติดต่อทางการค้าเนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์
จารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลา ตามระเบียงวัดพระเชตุพน เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย
ใช้หนังสือไทยชื่อ ประถม ก กา และ ปฐมมาลา นับเป็นแบบเรียนเล่มที่ 2 และ 3
นายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นำกิจการแพทย์สมัยใหม่
ตั้งโรงพิมพ์หนังสือไทยเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2379
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จ้างนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เมื่อ พ.ศ. 2405 จนรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี
ชาวยุโรป และอเมริกันเริ่มติดต่อค้าขายและสอนศาสนา
นำวิทยาการสมัยใหม่ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น
ลักษณะการจัดการศึกษาเป็นแบบเดิมทั้งวัดและบ้าน
ในส่วนวิชาชีพและวิชาสามัญ มีอักษรศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 1 การศึกษาเพื่อความทันสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การขยายการศึกษาทั่วในกรุงเทพฯ และตามหัวเมืองให้กว้างขวางออกไป
การศึกษามีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ปรับปรุงและขยายไปถึงประชาชนพลเมือง
ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษา
คณะมิชชันนารีได้นำวิทยาการเข้ามาเผยแพร่
ภัยจากการคุกคามของประเทศมหาอำนาจ
ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการ
โครงสร้างสังคมเปลี่ยนแปลง มีการเลิกทาสและมีการติดต่อกับต่างประเทศ
ได้แนวความคิดมาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
แบ่งการจัดการประถมศึกษา
กระทรวงมหาดไทยรับไปจัดในส่วนภูมิภาค (โรงเรียนประชาบาล)
กระทรวงนครบาลรับไปจัดในกรุงเทพฯ (โรงเรียนในเขตนครบาล)
กระทรวงธรรมการรับจัดตามเดิม(โรงเรียนรัฐบาล)
กระทรวงร่วมกันรับผิดชอบในการจัดการศึกษา
กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงนครบาล
รับผิดชอบในการจัดตั้งและบริหารโรงเรียน
จัดให้เด็กอายุถึงเกณฑ์ในเขตรับผิดชอบเข้าเรียน
หาครูสอน หารายได้เลี้ยงโรงเรียน รับจดทะเบียน
จัดให้มีที่เล่าเรียนเพียงพอแก่จำนวนเด็กที่มีอายุเท่าเกณฑ์
กระทรวงธรรมการ
รับผิดชอบจัดการศึกษาในด้านนโยบาย
กำหนดหลักสูตรและแบบเรียน
จัดสรรงบประมาณ
ควบคุมมาตรฐานการศึกษา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา
เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ
พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ นำเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลักในการปรับปรุงการศึกษา
มีความปรารถนาเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตย
คนล้นงานและคนละทิ้งอาชีพและถิ่นฐานเดิม มุ่งเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา
การเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
อิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
การประกาศใช้กฎหมายการศึกษา
การศึกษาสมัยนี้ควรถือเอาคุณภาพ ไม่ใช่ถือเอาจำนวน
ขยายการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติประถมศึกษาให้กว้างขวาง
พ.ศ.2475 เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2475
การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาภาคบังคับเป็นการศึกษาให้เปล่า
การศึกษาภาคบังคับ แบ่งชั้นประถมศึกษาสามัญ 4 ปี วิสามัญ 2 ปี
จัดการศึกษาให้ครบ ได้แก่ จริยศึกษา พุทธิศึกษา และพลศึกษา
ปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 2 ความเสมอภาคทางการศึกษา
การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2475
พุทธิศึกษา ให้ปัญญาความรู้
พลศึกษา เป็นการฝึกหัดให้เป็นผู้มีร่างกายสมบูรณ์
จริยศึกษาเป็นการอบรมศีลธรรมอันดีงาม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2479
เวลาเรียนชั้นประถมศึกษาเพียง 4 ปี
ผู้เข้าเรียนอุดมศึกษาต้องสำเร็จชั้นเตรียมอุดมศึกษาชั้นประถมศึกษา เป็นการศึกษาภาคบังคับ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2494
หัตถกรรม คือการฝึกหัดอาชีพและการประกอบอาชีพเข้ามาอีก
ยกฐานะกองโรงเรียนประชาบาลในกรมสามัญศึกษาขึ้นเป็นกรมประชาศึกษา
พยายามขยายการศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี
การศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษาพิเศษ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503
ปรับปรุงเพื่อสนองความต้องการของสังคมและบุคคล คณะกรรมการ 77 คน หลายสาขาอาชีพ
ขยายการศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี
จัดระบบการศึกษาเป็น 7 : 3 :2
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2512
การจัดให้มีสถานศึกษานั้น รัฐใช้วิธีแบ่งแรง คือ รัฐหรือคณะบุคคลหรือเอกชนจัด
อนุบาลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา
ความเสมอภาคทางการศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520
การศึกษาเป็นกระบวนการต่อเนื่องกันตลอดชีวิต
มุ่งจัดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคมไทยในปัจจุบัน
มีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย
รู้จักสิทธิหน้าที่และเสรีภาพในกรอบของกฎหมาย
จัดให้มีการศึกษาทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา
แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2535
เด็กปฐมวัยทุกคนเตรียมความพร้อมอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนประถมศึกษา
ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานของปวงชน
ปฏิรูปการศึกษาช่วงที่3 การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงสังคมโลก
การเรียนรู้ในยุคใหม่ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในโรงเรียน แต่เกิดขึ้นได้อย่างกว้างขวางในหลายสถานที่
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม
รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพ กฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วม
จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ให้บุคคลมีสิทธิในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ต้องเน้นทั้งความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล
ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สื่่อการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
รัฐต้องส่งเสริมการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
การปฏิรูปการศึกษาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
การจัดให้มีการศึกษาตลอดชีวิต
การสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
การศึกษาที่สร้างคุณภาพชีวิต
สังคมบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม คุณธรรม และวัฒนธรรม
กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ไว้ 3 มาตรฐาน และ 11 ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก
มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
การบริการวิชาการและสร้างความรู้ร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
การศึกษาวิจัย สร้างเสริม สนับสนุนแหล่งเรียนรู้และกลไกการเรียนรู้
การสร้างและการจัดการความรู้ในทุกระดับทุกมิติของสังคม
การศึกษาไทยสู่อาเซียนและประชาคมโลก
การให้ความรู้แก่พลเมือง ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาเพื่อนบ้าน การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน และจิตสำนึกของพลเมืองอาเซียน
เร่งพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยให้รู้จักวัฒนธรรม สังคม ความเป็นอยู่ของเพื่อนอีก 9 ประเทศที่จะสามารถก้าวสู่ประชาคมอาเซียนอย่างมั่นใจ
ทำหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาโรงเรียน เป็นการเตรียมพร้อมสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน