Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่
สารน้ำ
น้ำและสารประกอบ ที่ละลายอยู่ในถึง ได้แก่อิเลคโทรลัยท์ ทั้งประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน
หน้าท่ีของสารน้ำในร่างกาย
ช่วยในการควบคมุอณุหภูมิของร่างกาย
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขับของเสียผ่านทางไต
น้ำในร่างกาย
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 %
น้าภายในเซลล์มีประมาณ 60%
กลไกการระเหยของน้ำ
เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum) เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำ ร้อยละ 1-2 ของน้ำในร่างกายทั้งหมดจะเพิ่มออสโมลาลิตี (อนุภาคทั้งหมดที่ ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร)ของน้ำนอกเซลล
การควบคุมโดยฮอร์โมน Antidiuretic hormone (ADH) ถูกสร้างจากต่อมใต้ สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการ กระตุ้นการหลั่ง ADH
Aldosterone เป็นฮอร์โมนท่ีทำหน้าท่ี ร่วมกับ ADHเพื่อ ควบคุมน้ำในร่างกาย aldosterone ถูกหลั่งจากAdrenal cortex
การประเมินสมดุล ของเหลว
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า การขาดน้ำอย่างรุนแรงจะส่งผลทำให้ตาลึกโหล
สัญญาณชีพ มีอุณหภูมิกายขึ้นสูง
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น
ภาวะไม่สมดลุของสารน้ำ
ความผิดปกติของส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียน
ภาวะขาดน้ำ
สาเหตุ
secondary dehydration เกิดจากการเสียน้ำที่มีการเสียอิเลคโทรลัยท์
primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอ
อาการ
ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้ำลาย ริมฝีปากแห้ง น้ำหนักลด หัวใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะ
hypovolemia
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว ระดับความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำและเกลือ แร่ทดแทน
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
ภาวะน้ำเกิน
(hypervolemia)
สาเหตุ
การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป
ได้รับยา corticosteroid
ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ
pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจลำบาก ไอมาก
น้ำหนักเพิ่มมากขึน อาจมีอาการชัก
ความดัน โลหิตเพิ่มขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะน้ำเกิน
hypervolemia
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
บันทึกปริมาณน้ำเข้า ออก (I/O)
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ
ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
อาการ
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื้น แดง
ชีพจรแรง หายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะบวม(edema)
ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน้ำเกิน
บันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้ำหนัก, I/O
ให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
Electrolyte
โซเดียม
(sodium, Na)ค่าปกติ 135-145 mEq/L
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง
NG tube with suction , NG content
อาการ
รู้สึกตัวดี กระหายน้ำ ถ้าดื่มมากจะเป็นตะคริว อาเจียน
เริ่มรู้สึกเวียนศีรษะ เวลายืนจะเป็นลม อ่อนเพลียมาก
จากภาวะน้ำเกิน Na > 120 mEq/L แต่ < 135 mEq/L
ปริมาณปัสสาวะปกติหรือมากกว่าปกติ
BP สูง P เร็วและแรง หลอดเลือดดำส่วนปลายโป่งพอง
ฟังหัวใจพบ murmur และ gallop
การรักษา
หากร่างกายมีการขาดNaน้อยและมีการ ขาดน้ำมาก
หากเกิดภาวะน้ำเกินมากและขาดNaมาก จะต้องมีการให้Naทดแทนและยาขับปัสสาวะ
หลักการพยาบาล
ให้โซเดียมทดแทนและป้องกันภาวะshock
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน (hypernatremia)
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น เช่น ได้รับสารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
ได้รับน้ำน้อยหรือสญูเสียน้ำมากเช่น มีไข้ ไฟลวกรุนแรง
อาการ
มีไข้ต่ำๆ กระหายน้ำมาก
ผิวแดง หน้าแดง บวม ปากแห้ง ลิ้นบวมแดง
สับสน กระสับกระส่าย ชัก
พยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินระดับความรู้สึกตัว
บันทึกI/O ชั่งน้าหนัก
โปแตสเซียม K เป็นปัจจัยร่วมในการทำงานของ insulin ในการน้ำ กลูโคสเข้าเซลล์
โปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia) K < 3.5 mEq/L
สาเหตุ
การท่ีมีการขนส่ง K เข้าเซลล์มากเกินไป เช่น ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึน
มีการสูญเสียจากการอาเจียนมากๆ
อาการ
กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หัวใจ หัวใจเต้น ไม่สม่ำเสมอ ชีพจรเบา
ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
ทดแทน K ในรูปยาฉีด (intravenous infusion) ที่นิยมใช้โปแตสเซียมคลอไรด์ (KCl)
ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท มัน ฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม
โปแตสเซียมสูง
สาเหตุ
ได้รับโปแตสเซียมมากไปได้เลือดเก่าใกล้ หมดอายุเพราะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย
ไตวายเฉียบพลันหรือเรือรัง
โปแตสเซียมออกจากเซลล์มากขึ้น
อาการ
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรงหัวใจเต้นเร็ว มากกว่า100 ครั้ง/นาทีต่อมาเต้น ช้า กว่าปกติ
พยาบาล
ดูแลจำกัดอาหารที่มีโปแตสเซยีม เช่น กล้วย ส้ม มะละกอ ถั่ว เนื้อสัตว์
การให้ยาขับปัสสาวะ
การให้ดื่มน้ำมาก ๆ
แคลเซียม (calcium, Ca)
แคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
อาการ
ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะหัวใจเต้นช้า
คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว
รักษา
การผ่าตัดต่อมพาราไทรอยด์
การรกัษาด้วยยา
การรักษามะเร็ง ด้วยการผ่าตัด
แคลเซียมต่ำ
อาการ
จะมีการชาตามนิ้วมือนิ้วเท้ามือจีบ(trousseau’ssign)
และริมฝีปากเกร็งกระตกุ (tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ลำไส้หยุดทำงาน
การรักษา
ดูแลเรื่องการหายใจ
ติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
พยาบาล
ดูแลให้ calcium ทดแทน
ประเมินภาวะมือจีบ Trousseau’s sign
สังเกตอาการเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
แมกนีเซียม
แมกนีเซียมต่ำ
สาเหตุ การทำได้รับสารอาหารทีมีMgน้อยไปหรือมีการสูญเสียMg
ทางไตมากเกิน
อาการ หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
พยาบาล แนะนำอาหารที่มีแมกนีเซียมมาก เช่น อาหารทะเล ธัญพืช และจมูกข้าวสาลีและอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
แมกนีเซียมเกิน
สาเหตุ
การท่ีไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
การให้ Mg ใน หญิงตังครรภ์
อาการ
กล้ามเนืออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือดความดันเลือดต่ำ
ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
พยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ติดตามผลlab
ฟอสฟอรัส (Phosphorus)
ฟอสเฟตต่ำ
สาเหตุ การขาดอาหาร การอดอาหาร การขาด วิตามินดี การได้รับยาอะลูมิเนียม และแมกนีเซียม
อาการและอาการแสดง อ่อนเพลีย อิดโรย สับสน ชัก และไม่รู้สึกตัว หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ซีด เกร็ด เลือดทำงานผิดปกติ
การรักษา ให้รับประทานอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ได้แก่ นมวัว เครอื่ งในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ฟอสเฟตในเลือดสูง
สาเหตุ
ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง
การได้รับ ฟอสฟอรัส มากๆ
การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลล์เพิ่มขึ้น
อาการ กล้ามเนื้อ เหน็บชา กระตุกของกล้ามเนื้อมัดเล็ก เบื่ออาหารรุนแรง คลื่อไส้ อาเจียน ลำไส้ ไม่เคลื่อนไหว
การรักษา
ให้สารน้ำ เช่น NSS , D5N ทางหลอดเลือดดำ
ให้กลุโคสและอินซูลิน
การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง