Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพถึงปัจจุบัน, - Coggle Diagram
วิวัฒนาการและแผนพัฒนาสุขภาพถึงปัจจุบัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเลื่อมล้ำใน
ระบบบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ กำลังคนด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพตามหลัก Health in All Policy
สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เสริมสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตรด้านสุขภาพ โดยสร้างการศักยภาพ บูรณาการองค์กรทุกภาคส่วน และเชื่อมโยงระบบสุขภาพไทย
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
รูปแบบภาวะโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ข้อมูลข่าวสารและการวิจัยยังใช้ประโยชน์ได้ไม่เพียงพอ
ปัญหาสุขภาพ/โรคจากอุบัติเหตุ
ภัยพิบัติและภัยสุขภาพ
มีการเพิ่มขึ้นของโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างรวดเร็วจากการเกิดและภาวการณ์ตายลดลง
ปัญหาในด้านการเงินการคลัง ความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน การจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ ยังไม่เพียงพอ
กลไกการอภิบาลระบบสุขภาพในระดับชาติและธรรมาภิบาลไม่ชัดเจน
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทย
สุขภาพดี สร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุน และประสานเกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐเอกชน นักวิชาการและภาคประชาสัง ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
หลักการของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี เป็นกลไกเชื่อมต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
3.ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี
การพัฒนาที่ยั่งยืน
2.ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
1.ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าหมาย
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้การเจ็บป่วยและตายจากโรคที่ป้องกันได้ลดลง
คนไทยทุกกลุ่มวัยมีสุขภาวะที่ดี ลดการตายก่อนวัยอันควร
เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการรับบริการได้อย่างสะดวกและเหมาะสม
มีบุคลากรด้านสุขภาพที่ดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม
มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติที่เหมาะสม
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ฉบับที่ 1-12
ฉบับที่ 9 เน้นสุขภาพ คือ สุขภาพวะ พัฒนาระบบสุขภาพทั้งระบบ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ
ฉบับที่ 10 น้อมน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพและ
ยึดหลักการสุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี
ฉบับที่ 8 เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นวัตถุประสงค์หลัก เน้นการพัฒนาศักยภาพของคนในด้านสุขภาพ
ฉบับที่ 11 มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 7 เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคน
ฉบับที่ 12 ระบบสุขภาพเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดี สร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
ฉบับที่ 6 เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ฉบับที่ 5 เน้นการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรม ตั้งโรงพยาบาลครบทุกอำเภอ
ฉบับที่ 2 เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท และบังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทำสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนใน พ.ศ. 2508
ฉบับที่ 3 เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากยิ่งขึ้น นโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2518
ฉบับที่1 เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข
ฉบับที่ 4 เน้นการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสานแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง ตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐาน