Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรงและไม่ซับซ้อน, นางสาวกนกพรรณ…
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรงและไม่ซับซ้อน
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ประเภทที่ 2
กลุ่มโรคที่เกิดเฉพาะในวัยผู้สูงอายุ เช่น
กระดูกพรุน
การทรงตัวและหกล้ม
สูญเสียความทรงจำ
อาการสับสน
ประเภทที่ 1 กลุ่มโรคทั่วไปที่พบได้แม้จะยังไม่เข้าสู่วัย
ผู้สูงอายุ เช่น
โรคหัวใจ
โรคไตวายเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
การดูแล ช่วยเหลือ ผู้สูงอายุในชุมชน
การจัดสภาพแวดล้อมในห้องน้ำ
ไม่ควรห่างจากห้องนอนเกิน 9 ฟุต
ภายในห้องน้ำควรมีราวยึดเกาะ หรือตลอดทางเดินไปห้องน้ำ
พื้นห้องน้ำควรปูด้วยวัสดุเนื้อหยาบ
อุปกรณ์ภายในห้องน้ำ
ควรมีเก้าอี้ไว้สำหรับนั่งอาบน้ำ
ถ้าเป็นไปได้ควรผูกสบู่ติดกับเชือก
ควรมีกระดิ่ง และไม่ควรใส่กลอนประตู
ควรมีแสงสว่างเพียงพอ
การจัดสภาพแวดล้อมในห้องนอน
ควรวางอยู่ในตำแหน่งที่ไปถึงได้ง่าย
ความสูงของเตียงควรอยู่ใน
ระดับที่ผู้สูงอายุสามารถนั่งได้
ที่นอนไม่ควรนุ่ม หรือแข็งมากจนเกินไป
ควรโต๊ะข้างเตียงไว้สำหรับวางสิ่งที่จำเป็น
แสงสว่างในห้องควรเพียงพอ
เก้าอี้ผู้สูงอายุควรมีพนักพิง มีที่วางแขน
ตู้เสื้อผ้าไม่ควรสูงจนต้องปีน
ในห้องนอนไม่ควรมีโทรทัศน์
ความหมายผู้สูงอายุ
หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60ปีบรบูรณ์ขึ้นไป (พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 3)
สังคมผู้สูงอายุ
ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” ในปีพ.ศ. 2548 เนื่องจาก มีสัดส่วนของผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
สูงถึงร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด
โรคที่พบในผู้สูงอายุ
โรคสมองเสื่อม
ซึ่งผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านการคิด
การตัดสินใจ การเคลื่อนไหว
รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม
โรคในกลุ่มสมองเสื่อมที่พบบ่อยคือ อัลไซเมอร์(Alzeimer’s disease)
สูญเสียความทรงจำ โดยเฉพาะเรื่อง
ที่เพิ่งเกิดขึ้น (หลงลืม)
การตัดสินใจไม่เหมาะสม (การ
ตัดสินใจแย่ลง)
มีปัญหาเกี่ยวกับการคิดรวบยอด
ทำกิจวัตรประจำวันที่คุ้นเคยด้วย
ความยาก
สับสนวันเวลาสถานที่ (ไม่รู้เวลา)
มีปัญหาในการใช้ภาษา
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย (มีอารมณ์
หรือพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป)
บุคลิกภาพเดิมเปลี่ยนไป (บุคลิก
เปลี่ยน)
เก็บสิ่งของผิดที่ (วางของผิดที่)
ชอบเก็บตัว ขาดความกระตือรือร้น
ในการใช้ชีวิต (ขาดความคิดริเริ่ม)
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) เป็นกลุ่มอาการที่มีสาเหตุมาจากความผิดปกติที่มาจากการทำงานของสมองด้านการคิดและสติปัญญา
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
ประเภทที่ 1 โรคสมองเสื่อมชนิดที่ไม่สามารถ
รักษาให้หายขาดได้
ประเภทที่ 2 โรคสมองเสื่อมชนิดที่รักษาหายได
โรคสมองเสื่อมชนิดที่ไม่สามารถ
รักษาให้หายขาดได้
(Non-treatable dementia)
เกิดจากความผิดปกติ หรือการ
เสื่อมของเซลล์ประสาทในสมอง ยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน เช่น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’sdisease)เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อย
โรคสมองเสื่อมชนิดสามารถ
รักษาได้ (Treatable dementia)
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ เป็นผลทางโรคทางกาย ที่ส่งผลกระทบท าให้เกิดสมองเสื่อม ตัวอย่างเช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดสมอง ความแปรปรวนของระบบในร่างกาย ภาวะขาดสารอาหาร โดยเฉพาะ วิตามินบี 1
โรคติดเชื้อในสมอง
นางสาวกนกพรรณ ศรีบาล เลขที่ 2