Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่, image, image,…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่
สารน้ำ (fluid)
น้ำและ
สารประกอบ ที่ละลายอยู่ในน้ำ
อิเลคโทรลัยท์
ทั้งประจุบวกและลบ
โปรตีน
กลูโคล
ไขมัน
น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของสารน้ำในร่างกาย
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื่นต่อเนื่้อเยื่อของร่างกาย เช่น ปาก ตา จมูก
หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนื้อเยื่อ
น้ำในร่างกาย
น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 %
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้า เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum)เมื่อร่างกายสูญเสียน้า ร้อยละ 1-2 ของน้าในร่างกายทั งหมด (เครียด เจ็บปวด ยาบางชนิด เช่น มอร์ฟีน)
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Antidiuretic hormone (ADH)
Aldosterone
การประเมินสมดุลของเหลว
การซักประวัติ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า การขาดน้าอย่างรุนแรงจะส่งผลท้าให้ตาลึกโหล
สัญญาณชีพ มีอุณหภูมิกายขึ้นสูง ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ (fluid homeostasis)
ความผิดปกติของ ส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียน
การเสียสมดุลปริมาตรและความเข้มข้น
ภาวะเสียสมดุลอิเลคโทรลัยท์
ภาวะขาดน้ำคือ ภาวะที่มีปริมาณน้าในร่างกายน้อยกว่าปกติ
สาเหตุ
primary dehydration
secondary dehydration
อาการ ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้าลาย ริมฝีปากแห้งน้าหนักลด หัวใจเต้นเร็ว กระวนกระวาย
เมื่อขาดน้ำมากกว่าร้อยละ 7
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ(LAB)
urine sp. gr. >1.030
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ น
Na > 150mEq/L
Hct > 45%
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ภาวะน้ำเกิน(hypervolemia)
ภาวะน้าเกิน(hypervolemia)
สาเหตุ
การได้รับเกลือและน้ามาก เกินไป
ได้รับยาcorticosteroid
มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ
ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ
pulmonaryedema จะมีอาการหอบ หายใจล้าบาก ไอมาก
congestive heartfailure
neck vein engorged
น้ำหนักเพิ่มมากขึ้น อาจมีอาการชัก
บวมตามปลายมือปลายเท้า
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ภาวะบวม (edema)
อาการ
น้าหนักขึ้น ร้อยละ 5
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื่น แดง
ชีพจรแรง หายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
หลอดเลือดด้าที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement)
กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน
ถ่ายอุจจาระเป็นน้าปัสสาวะอาจออกมากหรือ น้อยกว่าปกติได้
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลurine spgr. < 1.010
พบ Na ในปัสสาวะ
Na ในเลือด< 135 mEq/L
Hct ต่ำกว่าปกติได้
Electrolyte
การที่แตกตัวเป็นไอออนได้ ในร่างกายแบ่งสารอิเลคโทรลัยท์
กลุ่มที่มีประจุบวก
สารที่มีประจุลบ
ได้แก่ ระบบไต ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบทางเดินอาหาร
โซเดียม (sodium, Na)
โซเดียมเป็นอิเลคโทรลัยท์ที่มีมากที่สุดในร่างกาย
ค่าปกติ 135-145mEq/L
ในคนปกติต้องการได้รับเกลือใหญ่ ขนาด 2 กรัม/วัน
ภาวะที่ร่ำงกำยมีระดับของโซเดียมต่ำ(hyponatremia)
ร่างกายได้รับNa จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน
อาเจียน ท้องร่วง
1.1รุนแรงเล็กน้อย อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
1.2รุนแรงปานกลาง
1.3รุนแรงมาก
จากภาวะน้ำเกิน
2.1 Na > 120 mEq/Lแต่< 135 mEq/L
2.2 Na < 120 mEq/L
2.3 Na < 110 mEq/L
2.4 Na < 105 mEq/L
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน
(hypernatremia)
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น
ได้รับน้าน้อยหรือสูญเสียน้ามาก
อาการทั่วไป
ผิวหนัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
ระบบประสาท
ระบบกล้ามเนื้อ
โปแตสเซียม(Potassium, K)
ภาวะที่ร่างกายมีโปแตสเซียมต่ำ
(hypokalemia)
กล้ามเนื้อกล้ามเนื้ออ่อนแรง
หัวใจหัวใจเต้นไม่สม่่ำเสมอ
หายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ทดแทน K
ในรูปยากิน
ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอทมันฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม
ภาวะที่มีระดับของโปแตสเซียมสูง (hyperkalemia)
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีต่อมาเต้นช้ากว่าปกติ
เสียงลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น
ให้ 50%glucose ผสมกับ regular insulin
ให้Kayexalate
ให้ยาขับปัสสาวะ
ดูแลจำกัดอาหารที่มีโปแตสเซียม เช่น กล้วย ส้ม มะละกอ ถั่ว เนื้อสัตว์
แคลเซียม(calcium, Ca)
ภาวะที่เลือดมีระดับของแคลเซียมเกิน (hypercalcemia)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของฮอร์โมนพาราไธรอยด์เพิ่มขึ้น
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ล้าไส้ไม่เคลื่อนไหว
สับสน ความจำเสื่อม ซึม หมดสติ
ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดกระดูก
การรักษา
ให้น้ำเกลือและยาขับปัสสาวะ
หากไม่ได้ผลหรือผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจหรือไตอาจจะต้องพิจารณาให้การฟอกเลือด
ติดตามการท้างานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ภาวะที่มีระดับของแคลเซียมต่ำ (hypocalcemia)
อาการ
จะมีการชาตามนิ้วมือนิ้วเท้ามือจีบ (trousseau’s sign) และริมฝีปากเกร็งกระตุก(tetany) ** แขนขาเป็นตะคริว
มีผลต่อระบบหัวใจ
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
อ่อนเพลีย วิตกกังวล กระสับกระส่าย สับสน ชัก
การรักษา
การให้แคลเซียมทดแทน
ติดตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้สารน้าทางหลอดเลือดด้า
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
แมกนีเซียม(magnesium, Mg)
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของแมกนีเซียมต่ำ (hypomagnesemia)
การที่ได้รับสารอาหารที่มีMg น้อยไปหรือมีการสูญเสีย Mg ทางไตมากเกิน
การได้รับยาบางชนิด
เกิดจากภาวะalcoholism
อาการ
หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ท้องอืด
การรักษา
ให้รับประทานMagnesium oxide
ให้ 50% Mg2SO4 (Magnesiumsulfate)
ภาวะที่ร่างกายมีแมกนีเซียมเกิน (hypermagnesemia)
อาการ
ระบบประสาท มีการกดการท้างานของระบบประสาท
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบไหลเวียนเลือด ความดันเลือดต่้า
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
หยุดการให้แมกนีเซียมและเพิ่มการขับแมกนีเซียมทางปัสสาวะ
งดยา ยาที่มีแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบ
ดูแลเรื่องการหายใจ
ติดตามการท้างานของกล้ามเนื อหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแมกนีเซียมมาก
ฟอสฟอรัส (Phosphorus)
ภาวะที่ร่างกายมีฟอสเฟตต่ำ (hypophatemia)
สาเหตุ
การได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การดูดซึมฟอสฟอรัสในทางเดินอาหารลดลง
การติดสุรา
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
การรักษา
นมวัว เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ ไต
ให้ยาที่มีฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบทางหลอดเลือดด้าช้าๆ
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (hyperphosphatemia)
สาเหตุ
ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง
การได้รับฟอสฟอรัสมากๆ
การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตออกจากเซลล์เพิ่มขึ น
การได้รับยา สารน้า หรือเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ที่ใช้กรดซิเตรทเด็กซ์โทรส
อาการ
เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟต
กล้ามเนื้อเหน็บชา
หัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหารรุนแรง
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูง (Hyperphosphatemia)
การรักษาภาวะฟอสเฟตสูงเฉียบพลัน
ให้สารน้า
ให้กลุโคสและอินซูลิน
การล้างไต
การรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงเรื้อรัง