Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อร…
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท
ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินอาการ
ทางระบบประสาท
การซักประวัติ
การประเมินควร ซักถามข้อมูลจากผู้ป่วย
โดยตรง
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่พบบ่อยเช่นอาการปวดศรีษะ อาการของการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
ประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินชีวิต
การประเมินจากการ
ตรวจร่างกายทาง
ระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
Full or Alert เป็นภาวะที่มีระดับการรู้สติเป็นปกติ
Confusion เป็นภาวะที่สูญเสียความ
สามารถในการคิด มีความสับสน
Stupor เป็นระยะที่ซึมมาก หลับมากกว่าตื่น
Semicoma เป็นอาการกึ่งหมดสติ หลับตลอดเวลา
Coma เป็นภาวะที่หมดสติ
การประเมินประสาทสมอง
(Cranial nerve function)
Olfactory nerve รับความรู้สึกด้านกลิ่น
Optic nerve รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็น
Oculomotor nerve ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อภายนอกลูกตาทั้งหมด
Trochlear nerve ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ superior oblique
Trigeminal nerve รับความรู้สึกจากบริเวณหน้า ศีรษะ ฟัน
Abducens nerve ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ lateral rectus
Facial nerve ไปเลี้ยงที่ลิ้นส่วนหน้าประมาณ 2/3
Acoustic การทรงตัว
Glossopharyngeal nerve ไปเลี้ยงที่ลิ้น
Vagus nerve
ทำหน้าที่เกี่ยว
ข้องกับระบบ
ประสาทอัตโนมัติ
Accessory nerve
เลี้ยงกล้ามเนื้อ trapezius
Hypoglossal nerve
ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ
ของลิ้นทั้งหมด
ประเมินความแข็งแรง
ของกล้ามเนื้อ
(Motor power)
เกรด/ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต
เกรด/ระดับ 1 = กล้ามเนื้อไม่มีแรงหดตัว
เกรด/ระดับ 2 = กล้ามเนื้อมีแรงที่จะ
เคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถ่วงได้
เกรด/ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้
แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได้
เกรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถ
ยกได้แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกติ
เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามีกำลังปกติ
การตรวจอาการของ
การระคายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign จะให้ผลบวกเมื่อ
งอศีรษะและคอให้คางชิดอก
Kernig signปวดและมีอาการหดเกร็ง
ของกล้ามเนื้อ hamstrings แสดงว่า
Kernig sign ให้ผลบวก
การตรวจ
รีเฟล็กซ์
(Reflex function)
4+ มีปฏิกิริยาอย่างมาก
(Hyperactive)
3+ มีปฏิกิริยามากกว่าปกติ
2+ ปกติ
1+ มีปฏิกิริยา
น้อยกว่าปกติ
0 ไม่มีปฏิกิริยา
การติดเชื้อในระบบ
ประสาทส่วนกลาง
(Infection)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
(Meningitis)
ทั่วไป
เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง โดยมีน้ำหล่อ
สมองและไขสันหลังไหลเวียนอยู่
สาเหตุ
การติดเชื้อโดยตรงจากภายนอกเข้าสู่
subarachnoid space
การติดเชื้อที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเชื้อ
ที่อยู่ใกล้สมอง และไขสันหลัง
เกิดการอุดตันทางเดินของ CSF จากเยื่อพังผืดทำให้CSF ไหลผ่านไม่ได้หรือได้น้อย ทำให้เกิดhydrocephalus
อาการ
มีอาการไข้และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่มักมีไข้สูง
หนาวสั่น และมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง
ตรวจพบ kerninig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก
ทำให้หลั่ง ADH ออกมามาก
พบว่าผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกิน
และมักมีภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ
การตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการ/การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่สำคัญ
คือ การตรวจน้ำไขสันหลัง โดยการเจาะหลัง
ความดันน้ำไขสันหลังสูงน้ำไขสันหลังจะขุ่น
การรักษา
การรักษาตามอาการ เช่น การควบคุมการชัก
การรักษาเฉพาะ หลักการรักษา คือ ต้องให้ยาฆ่าเชื้อโรค
สมองอักเสบ
(Encephalitis)
อาการ
ระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการนำ ได้แก่ อาการไข้ ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ระยะต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการทางสมอง ซึ่งจะพบความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว เช่น สับสน เพ้อคลั่ง ซึม ไม่รู้สึกตัว ชัก อาจมีอัมพาต คอแข็งและหลังแข็ง
การตรวจ
วินิจฉัย
การตรวจ MRI เพื่อหารอยโรค
การตัดชิ้นเนื้อสมอง ให้ผลการวินิจฉัยที่เฉพาะเจาะจง
การเจาะหลัง ตรวจระดับของสารต่างๆ
การรักษา
การรักษาเฉพาะเพื่อ
ทำลายเชื้อโรค
ยา Acyclovir มีฤทธิ์ต่อเชื้อ herpes virus
ไวรัสชนิดอื่นๆยังไม่มียาต้านเชื้อ รักษาประคับประคอง
การรักษาประคับประคอง
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย
เนื่องจากไม่รู้สึกตัว
สาเหตุ
สมองอักเสบส่วนใหญ่ เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายชนิด
ส่วนใหญ่มาจากยุง เป็นโรคที่รุนแรงถึงตายได้
ถ้ารอดก็มักจะมีปัญหาพิการถึงขั้นประสาทเสื่อม สมองพิการ
ไวรัสที่แพร่มาจากระบบอื่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ผิวหนัง
ไวรัสสาเหตุที่พบบ่อย Arbovirus ในประเทศไทย คือ Japanese virus, Herpesvirus, Varicella-zoster virus, Mumps virus, Measles virus, Rabies virus, Enterovirus
ทั่วไป
เป็นการติดเชื้ออย่างเฉียบพลันของเนื้อเยื่อสมองและไขสันหลังส่วน parenchymal โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน barsal ganglia ในการติดเชื้อนี้อาจรวมไปถึงชั้นเยื่อหุ้มสมองด้วย
ฝีในสมอง
(Brain abscess)
ทั่วไป
เป็นการอักเสบมีหนอง สะสมอยู่เป็นที่ภายในเนื้อเยื่อสมอง อาจจะเกิดแบบเม็ดเดียวหรือหลายเม็ด อาจพบมากกว่าหนึ่งที่
อัตราตายร้อยละ 40-60 แล้วแต่ว่าเกิดที่ส่วนใดและจากเชื้ออะไร ถ้ารอดชีวิตก็พิการ เช่น อัมพาตครึ่งซีก
สาเหตุ
เชื้อที่พบบ่อยคือ เชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา เข้าสมองโดย ลุกลามจากอวัยวะใกล้เคียง, ทางกระแสเลือด, ได้รับเชื้อโดยตรง, การบาดเจ็บที่เนื้อสมอง
เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อย คือ แบคทีเรียกลุ่ม Aerobic streptococcus และ Anaerobic streptococcus
อาการ
ระยะแรกมักจะเกิดการอักเสบที่เนื้อสมองก่อน ระยะหลังจะเกิดเป็นฝีที่มีถุงหุ้มชัดเจน
อาการทั่วไป ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ความดันในกะโหลกศีรษะสูง ซึมเล็กน้อย
อาการผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ ขึ้นกับตำแหน่งของฝี เช่น อัมพาตครึ่งซีก ชัก ไม่เข้าใจภาษา เดินเซ ตากระตุก
การตรวจ
วินิจฉัย
CT วินิจฉัยและประเมินฝีในสมอง บอกขนาดและการเคลื่อนออกไปจากเส้นกึ่งกลางสมองได้
MRI จะใช้ต่อเมื่อ CT ให้ลบ
การเจาะหลังไม่ควรทำ
การรักษา
ฝีในระยะเริ่มแรกและมีขนาดเล็กกว่า 2 cm. รักษาโดยให้ยา ATB ที่ผ่าน blood brain barrier ได้ หากไม่ได้ผล ให้การรักษาโดยการผ่าตัดเพื่อระบายหนองออกและให้ยา ATB
การผ่าตัด พิจารณา ตำแหน่ง,ขนาด > 3 ซม.,จำนวน,ระยะของฝี
เจาะดูดหนอง ใช้ในกรณีฝีอยู่ในตำแหน่งที่สาคัญซึ่งการผ่าตัดอาจก่อให้เกิดความพิการหรือฝีมีขนาดเล็ก
ผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาฝีในสมองออก เมื่อฝีมีขนาดใหญ่อยู่ในตำแหน่งที่สามารถผ่าตัดได้โดยปลอดภัย หรือเพื่อลดความดันในกะโหลก
การประเมินทางการพยาบาล
ควรมีการเฝ้าติดตาม สม่ำเสมอทุก 1-2 ชั่วโมง หรือตามความจำเป็น เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท โดยเฉพาะการประเมินระดับความรู้สึกตัว
ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
การกำซาบเลือดของเนื้อเยื่อสมองลดลง
กระบวนการของความคิดเปลี่ยนแปลง
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ/ทางเดินหายใจไม่โล่ง
ไม่สุขสบาย/อุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลง
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายหรือบาดเจ็บ เนื่องจากการชัก/ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ปริมาณสารน้ำในร่างกาย/ภาวะโภชนาการ เปลี่ยนแปลง
แบบแผนการนอน/การขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระเปลี่ยนแปลง
ชัก
(Seizure)
การชัก เกิดกระแสไฟฟ้า
ในเซลล์ประสาทขึ้นทันที
ทันใดพร้อมกันและควบคุม
ไม่ได้ และมักเป็นซ้ำๆกัน
สาเหตุของการชัก
พันธุกรรม, ความไม่สมดุลของอิเล็กโทรลัยยท์,การติดเชื้อการบาดเจ็บที่ศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง, ความผิดปกติของสมองแต่กำเนิดเนื้องอก
ปัจจัยที่กระตุ้น
อาการชัก
อารมณ์เครียด อดนอน
ทำงานเหนื่อย
ดื่มแอลกอฮอล์,
มีไข้ ปวดศีรษะ แสงจ้า,
ร่างกายขาดออกซิเจน
ร่างกาย
ตอบสนอง
ร่างกายใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น,BPสูง
ชีพจรเร็ว,ช่วงฟื้นตัวหลังชักร่างกาย
จะปรับตัวกลับเข้าสู่ภาวะสมดุล
ชนิดของการชัก
ชนิดที่เกิดขึ้นทั่วไป
การชักที่มีลักษณะตาค้างหรือไม่รู้สึกตัวชั่วคราว
พบในวัยเรียน พบน้อยหลังอายุ 20ปี การชักจะมีลักษณะไม่รู้สึกตัวชั่วคราว
การชักที่มีอาการเกร็ง
และกระตุกทั้งตัว
ระยะที่ 1 อาการนำก่อนการชัก
อาการนำ เช่น เศร้า อารมณ์เปลี่ยนแปลง เกิดก่อนชักหลายวันหรือ ชม.
อาการเตือน (Aura) เกิดก่อนชัก เป็นวินาที หรือนาที ได้แก่ ประสาทหลอน กลิ่น รส ทางตา ทางหู เห็นแสง ได้ยินคนพูด
ระยะที่ 2 ระยะเกร็ง
มีอาการเกร็งแข็งของกล้ามเนื้อทั่วๆไป อาจมีน้ำลายมาก
อาจมีการกัดฟัน หยุดหายใจจากกล้ามเนื้อเกร็ง
เกิดอาการเขียว กินเวลา 20-60 วินาที
ระยะที่ 3 ระยะกระตุก
มีอาการกระตุกของแขนขา ระยะแรกจะถี่ ต่อไปค่อยๆลดลง อาจกัดลิ้น รีเฟล็กซ์ต่างๆหายไป
ระยะที่ 4 ระยะหลังชัก
เป็นระยะที่กล้ามเนื้อคลายตัว อาจหมดสติต่อไปประมาณ 2-3 นาที อาจหลับต่อ เมื่อตื่นอาจมีอาการมึนงงศีรษะ และคลื่นไส้
ชนิดที่เกิดเฉพาะที่
การมีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อ
หนึ่งหรือสองมัดของร่างกาย
กระตุกที่แขนขาส่วนใดส่วนหนึ่งหรือมีอาการกระตุกบริเวณอื่นๆ ซึ่งเกิดจากมีรอยโรคที่บริเวณ motor area โดยทั่วไปไม่มีอาการหมดสติ
การชักแบบประสาทหลอน
หรือมีความผิดปกติทางจิต
มักพบในผู้ใหญ่ ซึ่งจุดเริ่มต้นมากจาก temporal lobe,
กระทำอย่างไม่มีจุดหมาย อาการมักไม่รุนแรง, จำอาการไม่ได้
การชักที่ไม่สามารถจัดอยู่
ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
การชักที่เกิดซ้าๆต่อเนื่อง
(Status seizure)
สาเหตุ ผู้ป่วยหยุดยากันชักเอง มักเกิดเป็นเวลาหลายชั่วโมง
หลักการพยาบาล
กำจัดสาเหตุและลดปัจจัย, ควบคุมอาการชักด้วยยา, การใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้น,
คงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี
การรักษา
การรักษาตามสาเหตุ
สิ่งที่กิน, การติดเชื้อ, มีปัญหาจากเมตาบอลิก หรืออิเล็กโทรลัยท์
ให้ยาต้านชัก
เช่น phenytoin, Ethosuximide, Diazepam เป็นต้น
การชักบางชนิดอาจจาเป็นต้อง รักษาโดยการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
คงไว้ซึ่งการได้รับออกซิเจนอย่าง
เพียงพอในขณะชักและหลังชักเกร็ง
คงไว้ซึ่งการป้องกันอันตราย
จากการเกิดภาวะชักเกร็ง
คงไว้ซึ่งการได้รับน้าและสารอาหารอย่างเพียงพอ
การประเมินสภาพ
ผู้ป่วยทาง
ระบบประสาท
การวัดระดับความ
รู้สึกตัวของผู้ป่วย
(coma scale)
EYE
ลืมตาได้เอง ให้ 4 คะเเนน
ลืมตาเมื่อเรียก ให้3 คะเเนน
ลืมตาเมื่อเจ็บ ให้2 คะเเนน
ไม่ลืมตาเลย ให้1คะเนน
VERBAL
พูดคุยได้ไม่สับสนให้ 5 คะเเนน
พูดคุยได้แต่สับสน ให้4คะเเนน
พูดเป็นคำๆ ให้ 3 คะเเนน
ส่งเสียงไม่เป็นคำพูด ให้2คะเเนน
ไม่ออกเสียงเลย ให้ 1 คะเเนน
motor respons
ทำตามคำสั่ง ให้ 6 คะเเนน
ทราบตำแหน่งที่เจ็บ ให้ 5 คะเเนน
ชักแขน ขาหนี เมื่อเจ็บ ให้ 4 คะเเนน
แขนงอเข้าหาตัวเมื่อเจ็บ ให้ 3 คะเเนน
แขนเหยียดเกร็งเมื่อเจ็บ ให้2 คะเเนน
ไม่มีการเคลื่อนไหว ให้ 1 คะเเนน
การวัด
สัญญาณชีพ
(vital signs)
การหายใจแบบ Cheyne-Stoke respiration คือ การหายใจเร็วสลับกับหยุดหายใจเป็นระยะ
การหายใจแบบ Central neurogenic hyperventilationคือ หายใจหอบลึกสม่ำเสมอมากกว่า 40 ครั้ง/นาที
Apneutic Breathing เป็นการหายใจเข้าเต็มที่แล้วหยุดนิ่ง เป็นเวลานานแล้วจึงหายใจออกแล้วหยุดหายใจนิ่งก่อนจะหายใจเข้าใหม่
Biot’s or Artaxic Breathing
เป็นลักษณะการหายใจไม่สม่ำเสมอ
Cluster Breathing
มีลักษณะการหายใจเป็นกลุ่มๆ
การวัดส่วนที่มี
พยาธิสภาพของสมอง
(focal neurological
signs)
การตรวจ
ลักษณะ
ของรูม่านตา
(pupils)
หากรูม่านตา ไม่มีปฏิกิริยา
ต่อแสง ให้ใส่ N หรือใส่
เครื่องหมาย ถ้าเปลี่ยนเเปลง
ช้ากว่าปกติ ให้ใส่ S
เปลี่ยนแปลงขนาดง่าย
ให้ใส่ R
Doll’s eyes sign ซึ่งโดยปกติตาทั้ง 2 ข้าง จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับที่ศีรษะหมุน
การเคลื่อนไหว
และกำลังของแขนขา
กำลังปกติ: แขนหรือขามีกำลังปกติ
อ่อนแรงเล็กน้อย : มีแรงเคลื่อนไหวข้อต้านแรงถ่วงได้ แต่ต้านแรงกดได้น้อยกว่าปกติ
อ่อนแรงมาก : มีแรงเคลื่อนไหวข้อ ต้านแรงถ่วงได้ ยกขึ้นได้ แต่ต้านแรงกดไม่ได้
แขนงอ จะมีเฉพาะเเขน
อัมพาต : ไม่มีการเคลื่อนไหวแขนขาเลย
การตรวจพิเศษ
ทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อการวินิจฉัย
(Neurodiagnostic
Studies)
การถ่ายภาพรังสี
กะโหลกศีรษะ
และกระดูกสันหลัง
การวัดความดันในกะโหลก
ศีรษะอย่างต่อเนื่อง
การตรวจคลื่นสมอง
การเจาะหลัง
ภาวะความรู้สึกตัวลดลง
กลุ่มที่เกิดจากมีรอยโรคในศีรษะ
ความผิดปกติจาก
การที่รอยโรค
มีการกดเบียด
เนื้อสมองปกติ
ที่อยู่รอบๆ
กลุ่มที่ไม่ได้มี
รอยโรคในศีรษะ
ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตรวจ
ร่างกายทางระบบ
ประสาทปกติ
กลุ่มที่ไม่ได้มีรอยโรคในศีรษะ
ภาวะเมตาบอลิกในเลือดผิดปกติ
เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูง ผิดปกติ
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี
UDA6280003