บทที่3สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุขและแผนพัฒนาการสาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
สุขภาพดี มุ่งเน้นไปที่การสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมและทางกายภาพที่สามารถส่งเสริมสุขภาพให้ดีสำหรับทุกคน
องค์การอนามัยโลก (WHO, 2004) ให้ความหมายไว้ในธรรมนูญขององค์การอนามัยโลกเมื่อ ค.ศ. 1948 หมายถึง สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข
สุขภาวะ ภาวะที่บุคคลมีร่างกายแข็งแรง มีอายุยืนยาว มีจิตใจที่ดี มีความเมตตากรุณา เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นองค์รวม โดยเริ่มจากตนเอง
สุขภาพทางสาขาการพยาบาลชุมชนและพยาบาลสาธารณสุข
เมอเรย์เซ็นท์เนอร์ และยากิโม นิยามว่า สุขภาพ คือสภาวะความผาสุกของบุคคล โดยบุคคลเหล่านั้นมีความสามารถที่จะปรับตัวในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสังคม ได้
ดันน์ มองว่า สุขภาพเปรียบเสมือนเป็นของเหลวที่มีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง มีขึ้นมีลงและมีจุดสูงสุด
ชุมชน (Community)
ประเวศ วะสี (2540) ให้ความหมายของ ชุมชน คือ มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ติดต่อสื่อสารหรือรวมกลุ่มกัน ช่วยเหลือซึ่งกัน เพื่อให้เกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ร่วมกัน
ชุมชน หมายความว่า กลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตเกี่ยวพันกัน ติดต่อสื่อสาร อยู่ในอาณาบริเวณเดียวกัน หรือมีอาชีพเดียวกัน
พยาบาลอนามัยชุมชน
พยาบาลสาธารณสุข
พยาบาลอนามัยชุมชน
คือมุ่งเน้นไปที่การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
โดยมีบทบาทในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้น มุ่งการทำงานที่ประสานความร่วมมือกับประชาชนในชุมชน
คือ ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้การสังเคราะห์ความรู้ มาสู่การปฏิบัติการพยาบาลและการสาธารณสุขสู่การสร้างเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านวิชาการ
ด้านบริการ
การดำเนินงานเพื่อสุขภาพประชาชน
องค์ประกอบขับเคลื่อนระบบสุขภาพภาคประชาชน
2) องค์ความรู้ ทักษะด้านการดูแลสุขภาพ
3) ทุน ทุนทางสังคม ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน
1) คน กระตุ้นให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ
ระบบสุขภาพภาคประชาชนกับสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
พยาบาลอนามัยชุมชน จําเป็นต้องรู้เท่าทันสถานการณ์สุขภาพที่มีการปรับเปลี่ยนไม่อยู่นิ่ง เน้นส่งเสริมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและการจัดการสุขภาพโดยประชาชน (Health For All) ส่งเสริมศักยภาพให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีความสามารถในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ สนับสนุนให้มีการทํางานในรูปภาคีเครือข่ายความร่วมมือเพื่อดูแลสุขภาพของประชาชน (All For Health) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการทํางานในระบบการดูแลสุขภาพประชาชน ให้มีความเข้มแข็งและเกิดความยั่งยืนขึ้นในชุมชน
แผนพัฒนาการสาธารณสุขไทย
Future Events
ความเป็นสังคมเมือง
สังคมผู้สูงอายุ
โลกเชื่อมต่อการค้า การลงทุน
การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาส
ความก้าวหน้า Technology
ฉบับที่ 6 พุธศักราช 2530 -2534 เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ ให้ความสำคัญกับปัญหาสาธารณสุขใหม่ เอดส์ อุบัติเหตุ หัวใจ มะเร็ง สุขภาพจิต
ฉบับที่ 7 พุธศักราช 2535 -2539 วัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีมีความครอบคลุมเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 80ทำให้อัตราการป่วยลดลง
ฉบับที่ 5 พุธศักราช 2525 -2529 ตั้งโรงพยาบาลครบทุกอำเภอ ผลิตแพทย์และพยาบาล
ฉบับที่ 8 พุธศักราช 2540 -2544 เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านสุขภาพ โดยมีการปรับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ด้านสาธารณสุขให้สอดคล้องกับวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ต้มยำกุ้ง
ฉบับที่ 4 พุธศักราช 2520 -2524 มุ่งเน้นการแก้ไข ตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐาน โรคติดต่อบางอย่างลดลงจนไม่เป็นปัญหาเช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ แต่ประชาชนใน
ฉบับที่ 9 พุธศักราช 2545 -2549 ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ ระบบสุขภาพพอเพียง คนในสังคมไทยทุกคน มีหลักประกันที่จะดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาพวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัวชุมชนและสังคมที่มีความพอเพียงทางสุขภาพ มีศักยภาพมีการเรียนรู้และ
มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพโดย สามารถใช้ประโยชน์ทั้งจากภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน
ฉบับที่ 3 พุธศักราช 2515 -2599 เน้นการพัฒนา นโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2518
ฉบับที่ 10 พุธศักราช 2550 -2554 น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 2 พุธศักราช 2510 -2514 เน้นการวางแผน บังคับนักศึกษาแพทย์ให้ท าสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนพ.ศ. 2508
ฉบับที่ 11 พุธศักราช 2555 -2559 มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 1 พุธศักราช 2504 -2509 เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข
ฉบับที่ 12 พุธศักราช 2560 -2564 ประชาชนป่วยน้อยลง ผู้ให้บริการพอใจ ระบบสุขภาพเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน